Page 11 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 11

บทบัญญัติ


                              ขอ  ๘  การเปรียบเทียบหรือไกลเกลี่ยคดีจักตองกระทําในศาล  ผูพิพากษาพึงชี้แจง
               ใหคูความทุกฝายตระหนักถึงผลดีผลเสียในการดําเนินคดีตอไป ทั้งนี้ จักตองไมใหคํามั่น

               หรือบีบบังคับใหคูความฝายใดฝายหนึ่งหรือทุกฝายยอมรับขอเสนอใด ๆ  หรือใหจําเลยรับสารภาพ
               โดยไมสมัครใจ และจักตองไมทําใหคูความฝายใดฝายหนึ่งระแวงวาผูพิพากษาฝกใฝชวยเหลือ

               คูความอีกฝายหนึ่ง

               คําอธิบาย

                              ก.  การไกลเกลี่ยโดยองคคณะผูพิพากษา
                              (๑)  การเปรียบเทียบหรือไกลเกลี่ยคดีนั้น เปนเจตนารมณของกฎหมายดังเชน

               ที่บัญญัติไวในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง  มาตรา  ๑๙  มาตรา  ๒๐  และมาตรา  ๒๐ ทวิ
               และตามกฎหมายอื่น  ซึ่งองคคณะผูพิพากษายอมมีอํานาจกระทําได  อยางไรก็ตาม ถาหากกระทําการ
               เปรียบเทียบหรือไกลเกลี่ยคดีนอกศาล  แมผูพิพากษาจะไมมีสวนไดเสียในคดีนั้น ก็ทําใหมองไปได

               วาเปนเรื่องสวนตัวหรือกึ่งสวนตัวของผูพิพากษาเอง และเทาที่ผานมาก็มีการรองเรียนในเรื่องนี้
               อยูเปนครั้งคราว  เพื่อตัดขอรังเกียจของคูความในเรื่องนี้  จึงกําหนดไวในจริยธรรมขอนี้ใหผูพิพากษา

               กระทําการเปรียบเทียบหรือไกลเกลี่ยคดีของตนในศาลและพึงกระทํา  ณ บัลลังกที่พิจารณาเทานั้น
                              (๒)  ในการเปรียบเทียบหรือไกลเกลี่ยคดีนั้นควรกระทําใหเหมาะสมกับลักษณะ
               และพฤติการณในแตละคดี โดยชี้แจงใหคูความทราบถึงผลไดผลเสียของการดําเนินคดีตอไป เปนตนวา

               ถาดําเนินคดีตอไปจนถึงที่สุด อาจจะเสียเวลาและคาใชจายในการดําเนินคดีมากกวาที่คาดคิดไว
               หากรอมชอมกันเสียในขณะนี้ โดยตางฝายตางโอนออนเขาหากันหนักนิดเบาหนอยอาจจะ

               ไดประโยชนมากกวา
                              (๓)  ขอที่พึงระมัดระวังคือ ผูพิพากษาจักตองไมชี้ชองหรือบอกใบวาฝายใดไดเปรียบ
               ในเชิงคดี  หรือฝายใดมีแตทางแพประตูเดียว  แตผูพิพากษาจักตองดํารงตนเปนคนกลางอยางแทจริง

               ทั้งจักตองไมใหคํามั่นหรือบีบบังคับใหคูความฝายใดรับขอเสนอใด ๆ หรือใหจําเลยรับสารภาพโดย
               ไมสมัครใจดวย

                              ข.  การไกลเกลี่ยโดยผูประนีประนอม
                              โดยที่การไกลเกลี่ยขอพิพาทเปนการระงับขอพิพาทที่เปนประโยชนตอคูความและ
               กระบวนการพิจารณาของศาลยุติธรรม  เพราะนอกจากจะทําใหการดําเนินคดีเสร็จสิ้นไปไดดวยความ

               รวดเร็วและประหยัดแลว  ยังเปนผลใหขอพิพาทระงับลงดวยความพอใจของคูความ การไกลเกลี่ย
               ขอพิพาทจึงเปนทางเลือกที่ศาลยุติธรรมนํามาปรับใช เพื่อประโยชนในการระงับขอพิพาท

               ที่ขึ้นสูศาล  โดยสงเสริมใหมีการใชวิธีไกลเกลี่ยขอพิพาทโดยผูประนีประนอม ซึ่งเมื่อคดีขึ้นสูศาล
               ผูรับผิดชอบราชการของศาล  ไดแก  ประธานศาลฎีกา  ประธานศาลอุทธรณ  ประธานศาลอุทธรณภาค
               อธิบดีผูพิพากษาศาลชั้นตน  ผูพิพากษาหัวหนาศาล  รวมถึงผูที่ไดรับมอบหมายจากบุคคลดังกลาว

               หรือองคคณะผูพิพากษา  อาจแตงตั้งผูพิพากษาคนหนึ่งหรือหลายคนในศาลเปนผูประนีประนอมก็ได
               เพื่อชวยเหลือศาลในการไกลเกลี่ยคดีเรื่องใดเรื่องหนึ่ง  ซึ่งการไกลเกลี่ยจะทําดวยวิธีใด  ณ วัน  เวลา
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16