Page 34 - ประมวลจริยธรรมข้าราชการตุลาการ
P. 34

(ข)  ขาราชการศาลยุติธรรม ใหเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม ประธานศาลฎีกา

               ประธานศาลอุทธรณ ประธานศาลอุทธรณภาค  อธิบดีผูพิพากษาศาลชั้นตน  อธิบดีผูพิพากษาภาค
               หรือผูพิพากษาหัวหนาศาลแลวแตกรณี เปนผูพิจารณาการอนุญาต สําหรับขาราชการศาลยุติธรรม
               ในบังคับบัญชา  และเมื่อผูบังคับบัญชาดังกลาวอนุญาตแลวใหรายงานสํานักงานศาลยุติธรรมทราบดวย

                               ในกรณีการบรรยายหรือสอนพิเศษในวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัยเอกชนนั้น
               การอนุญาตไมควรเกิน  ๔  หนวยชั่วโมงสอนตอสัปดาห            (หนังสือสํานักงานศาลยุติธรรม

               ที่  ศย ๐๐๓/ว ๑๙๒ ลงวันที่  ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๐ )
                              การขออนุญาตใหถูกตองตามระเบียบดังกลาวถือเปนเรื่องสําคัญที่จะตองรีบจัดทํา
               โดยตองเสนอไปยังผูมีอํานาจพิจารณาหรืออนุญาตแตเนิ่น ๆ ใหมีเวลานําเสนอไดทันกําหนดวัน

               บรรยายหรือสอน แมการบรรยายหรือสอนนั้นจะมิใชเรื่องสําคัญก็ควรปฏิบัติใหถูกตอง
               ตามระเบียบราชการดวย

                              การไปบรรยายหรือสอนในเวลาราชการหรือคาบเกี่ยวกับเวลาราชการนั้น แมจะ
               ไดรับอนุญาตโดยชอบแลว ผูไดรับอนุญาตยังตองระวังมิใหเปนการกระทบกระเทือนหรือเกิด
               ความเสียหายแกการปฏิบัติหนาที่ราชการประจําได

                              สําหรับการบรรยาย การสอน หรือการจัดอบรมทบทวนความรูแกผูที่เตรียมตัว
               สอบผูชวยผูพิพากษาโดยสํานักงานศาลยุติธรรมมิไดเปนผูจัดนั้น คณะกรรมการตุลาการเคย

               พิจารณาเห็นวา “...เปนการไมเหมาะสมแกตําแหนงหนาที่ของผูพิพากษาที่เปนขาราชการ
               ตุลาการประจํา  การจะพึงกระทําหรือเขาไปมีสวนรวมเปนผูใหการอบรมและทบทวน เพราะอาจ
               เกิดขอครหาในทางที่ไมเปนคุณแกการสอบคัดเลือกเพื่อบรรจุเปนขาราชการตุลาการที่กําลัง

               ดําเนินการอยูอันอาจนําความเสื่อมเสียแกราชการของศาลยุติธรรมได สมควรที่ผูพิพากษาที่เปน
               ขาราชการตุลาการประจําการทั้งหลายพึงสังวรระมัดระวังไมควรกระทําเชนนี้ในโอกาสตอไป...”

               โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีการเรียกรองเงินทองเปนคาตอบแทนการอบรมและทบทวนนั้นดวย
                       อยางไรก็ตามในสวนของการบรรยาย หรืออบรมเผยแพรความรูเกี่ยวกับกิจการศาล
               และกฎหมายซึ่งไมเกี่ยวกับปญหาทางการเมืองใหแกนักเรียน นิสิต นักศึกษา ขาราชการ หรือ

               ประชาชน ตามโครงการประชาสัมพันธของสํานักงานศาลยุติธรรมนั้น ใหผอนผันเปนพิเศษวา
               ใหขาราชการตุลาการกระทําไดโดยมิตองเสนอขออนุญาตกอน แตใหรายงานสํานักงานศาลยุติธรรม

               เพื่อทราบ หลังจากที่ไปบรรยายหรืออบรมแลวทุกครั้ง
                              (๒)  แสดงความคิดเห็นใดๆ  ตอสาธารณชน  :
                              การแสดงความคิดเห็นตอสาธารณชนนั้น หากมีลักษณะเปนการ (ก) เขียนเรื่องหรือ

               บทความ หรือ (ข) ใหขาวหรือใหสัมภาษณแกสื่อมวลชนแลว ผูพิพากษาผูแสดงความคิดเห็น
               จะตองคํานึงถึงและปฏิบัติใหถูกตองตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการที่ไดวางไว สําหรับ

               แตละกรณีดวย ดังมีสาระโดยยอ ดังนี้
                              (ก)  การเขียนเรื่องหรือบทความเผยแพรทางสื่อมวลชนนั้น ใหกระทําไดแตจะตอง
               อยูในขอบเขตของกฎหมายหรือระเบียบ และเรื่องหรือบทความนั้นตองไมทําใหเกิดความเสียหาย

               แกศาลยุติธรรม  สํานักงานศาลยุติธรรม บุคคลใดหรือหนวยงานใด และไมมีลักษณะเปนการใหขาว
               และบริการขาวสารของศาลยุติธรรมโดยผูเขียนไมมีหนาที่รับผิดชอบ  ในกรณีที่ผูเขียนเรื่องหรือบทความ
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39