Page 24 - Modern Management11
P. 24

นโยบายสาธารณะกับการบริหารจัดการสมัยใหม่



               2. กลยุทธ์ธุรกิจหรือกลยุทธ์ในการแข่งขัน (Business/Competitive Strategy)
                       เป็นกลยุทธ์ที่มีความชัดเจนและเจาะจงกว่ากลยุทธ์บริษัท  โดยผู้บริหารหน่วยธุรกิจ  (Business  Unit

               Manager)  จะให้ความส าคัญกับการแข่งขันในธุรกิจของตน  โดยพยายามสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน

               (Competitive  Advantage)  ให้เหนือกว่าคู่แข่งขัน  ซึ่งเราสามารถจ าแนกกลยุทธ์ในการแข่งขันออกเป็น
               3 ประเภทได้แก่

                       1) กลยุทธ์ผู้น าด้านต้นทุน (Overall Cost Leadership Strategy) ธุรกิจสามารถผลิตสินค้า หรือบริการ

               และจัดส่งแก่ลูกค้า โดยมีต้นทุนต ่ากว่าคู่แข่งขัน ท าให้สามารถตั้งราคาและท ากิจกรรมทางการตลาดได้หลาย

               รูปแบบ ซึ่งสามารถด าเนินการโดยประสบการณ์ หรือการพัฒนาประสิทธิภาพในการผลิต
                       2)  กลยุทธ์ความแตกต่าง  (Differentiation  Strategy)  ธุรกิจจะสร้างสินค้าและบริการให้มีความ

               แตกต่างจากคู่แข่งโดยความแตกต่างนี้จะต้องได้รับความส าคัญหรือคุณค่าจากลูกค้า  เช่น  คุณภาพ  และ

               ภาพลักษณ์เป็นต้น

                              3)  กลยุทธ์การให้ความส าคัญ  (Focus  Strategy)  ธุรกิจจะให้ความส าคัญกันส่วนตลาดที่มีความ
               เฉพาะ  ท าให้สามารถทุ่มเททรัพยากร  และด าเนินงานตอบสนองกับกลุ่มลูกค้าได้ดีกว่าคู่แข่งที่มีตลาดกว้าง

               3.  กลยุทธ์ตามหน้าที่ของธุรกิจ  (Functional  Strategy)  เป็นกลยุทธ์ระดับปฏิบัติการที่มีระยะเวลาสั้น  ซึ่งจะ

               ด าเนินงานเพื่อตอบสนองและสนับสนุนกลยุทธ์ในการแข่งขัน  โดยผู้บริหารจะกระจายกลยุทธ์ลงในแต่ละ
               หน้าที่ทางธุรกิจ  เช่น การตลาด การเงิน การผลิตและการด าเนินงาน และทรัพยากรมนุษย์ เป็นต้น เพื่อให้

               การด าเนินงานเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจมีประสิทธิภาพผลที่เป็นรูปธรรมการน ากลยุทธ์ไปปฏิบัติ

                                   ถึงแม้ว่าการก าหนดกลยุทธ์  จะเป็นงานส่วนที่ส าคัญในกระบวนการจัดการเชิงยุทธ์และอนาคต
               ขององค์กร  แต่เราจะทราบว่ากลยุทธ์ที่ก าหนดขึ้นจะมีผลดีหรือไม่  ก็ต่อเมื่อกลยุทธ์นั้นถูกน าไปใช้งานแล้ว

               เท่านั้น  ดังนั้นการน ากลยุทธ์ไปปฏิบัติจึงเป็นขึ้นตอนส าคัญทางการเชิงกลยุทธ์  ที่ท าให้แนวคิดเชิงกลยุทธ์

               ประสบความส าเร็จในชีวิตจริง โดยผู้มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ (Carry out
               Strategic Plans) ต้องค านึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ต่อไปนี้

                       - เทคโนโลยี

                       - ทรัพยากรมนุษย์

                       - ระบบค่าตอบแทนและการจูงใจพนักงาน
                       - กระบวนการตัดสินใจและรูปแบบการบริหารงานของผู้บริหาร

                       - ระบบงาน โครงสร้าง และวัฒนธรรมองค์การ

                       ผู้ที่น ากลยุทธ์ไปปฏิบัติมิใช่เพียงมีความรับผิดชอบต่อความส าเร็จ   หรือล้มเหลวในการด าเนินกล
               ยุทธ์เท่านั้น  แต่ความรับผิดชอบของเขาจะเกี่ยวข้องถึงความอยู่รอดขององค์กร  โดยเขาต้องพิจารณาถึง

               ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ อย่างรอบคอบ ถ้าปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งเปลี่ยนแปลงย่อมต้องมีผลกระทบต่อ

               ปัจจัยอื่น  การน ากลยุทธ์ไปปฏิบัติให้เป็นผลส าเร็จจะเกิดขึ้นจากความเข้าใจและความร่วมมือทั้งองค์กร โดย




               ดร. สุกฤตา  สุวรรณกฤติ
                                                                                                            24
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29