Page 1 - A Neurofuzzy Network and Its Application to Machine Health Monitoring
P. 1
ชื่อบทความภาษาไทย
การสร้างชุดการสอนรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เรื่อง การค านวณค่า R-L-C
ชื่อบทความภาษาอังกฤษ
ณรงค์ฤทธิ์ แหลมแก้ว
1
1
Narongrit Laemkaew
1 พนักงานราชการ(ครู) แผนกวิชาไฟฟ้าก าลัง วิทยาลัยการอาชีพสอยดาว E-mail: tong_spirit@hotmail.com
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการพัฒนาชุดการสอนเรื่องการค านวณ ค่า R-L-C ที่ใช้ในการเรียน
การสอน วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ และหาประสิทธิภาพของชุดการสอนเรื่องการค านวณ ค่า R-L-C
เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนทดสอบก่อนเรียนกับคะแนนทดสอบหลังเรียน และประเมินความพึงพอใจ
ของผู้เรียนที่มีต่อชุดการสอนเรื่องการค านวณ ค่า R-L-C โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ชั้นปีที่ 2 แผนกวิชาไฟฟ้าก าลัง วิทยาลัยการอาชีพสอยดาว จ านวน 22 คนโดย
ใช้ชุดการสอนเรื่องการค านวณ ค่า R-L-C เพื่อหาประสิทธิภาพของชุดการสอนและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน โดยวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติได้ผลการวิจัยพบว่า
1. ชุดฝึกชุดการสอนเรื่องการค านวณ ค่า R-L-C ที่ใช้ในการเรียนการสอน วิชาวงจรไฟฟ้า
กระแสสลับ ที่สร้างขึ้นนั้น มีประสิทธิภาพ E1 / E2= 81.18 / 81.55 สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80 / 80
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนเรื่องการค านวณ ค่า R-L-C
พบว่านักเรียนที่เรียนโดยชุดการสอนเรื่องการค านวณ ค่า R-L-C ในรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ มี
ผลสัมฤทธิ์ทางหลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05
3. ระดับความพึงพอใจต่อชุดการสอนเรื่องการค านวณ ค่า R-L-C ในรายวิชาวงจรไฟฟ้า
กระแสสลับโดยภาพรวมอยู่ ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย ( X =4.66 ,S.D.=0.16)
ค าส าคัญ : ชุดการสอน การค านวณค่า R-L-C วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ การหาประสิทธิภาพชุดการสอนความ
พึงพอใจ