Page 6 - A Neurofuzzy Network and Its Application to Machine Health Monitoring
P. 6

6


               6.  สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ

                      6.1 สรุปผลการวิจัย
                         1. จากผลการวิจัยประสิทธิภาพการเรียนการสอนโดยใช้ชุดการสอนรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
               เรื่อง การค านวณค่า R-L-C ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ E1/E2 เท่ากับ 81.18/81.55 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้ง
               ไว้ แสดงให้เห็นว่าชุดการสอนนี้ ท าให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้จริง ถึงแม้ว่าจะเคยเรียนเรื่องนี้มาก่อนแล้ว
                         2. นักเรียนที่เรียนด้วยชุดการสอนรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับเรื่อง การค านวณค่า R-L-C ที่ได้

               พัฒนาขึ้นนี้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งจาก
               การวัดผลสัมฤทธิ์แสดงให้เห็นว่า ท าให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น
                         3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนการสอนโดยใช้ชุดการสอนรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
               เรื่อง การค านวณค่า R-L-C นี้ อยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ทั้งนี้อาจ

               เนื่องจากนักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดการทดลองที่มีการตอบสนองของการปฏิบัติการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าใน
               วงจร ท าให้เข้าใจบทเรียนได้ง่าย และกระตุ้นความสนใจขณะทาการทดลอง เพราะตามปกติการทดลองเรื่อง
               วงจรไฟฟ้าจะใช้การวัดค่าไฟฟ้าจากมิเตอร์เพียงอย่างเดียว
                      6.2 ข้อเสนอแนะ

                         1. เนื่องจากชุดการสอนนี้เป็นชุดการทดลองต้นแบบ จึงมีจ านวนอุปกรณ์อยู่จ ากัด ดังนั้น ถ้าหาก
               จะใช้กับนักเรียนกลุ่มใหญ่ จะต้องเพิ่มจานวนชุดการทดลองนี้ให้มากขึ้น และมีอุปกรณ์บางตัวไม่ทันสมัย
                         2. ส าหรับงานวิจัยนี้ไม่ได้ท าการวิเคราะห์ความยาก - ง่าย และความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ

               ดังนั้นจึงควรมีการวิเคราะห์เพิ่ม เพื่อจะได้ประเมินคุณภาพงานวิจัยได้ครบทุกด้าน

               7.  เอกสารอ้างอิง

               กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพมหานคร : องค์การรับส่งสินค้า

                     และพัสดุภัณฑ์.
               ชเนษฎ์ วิชาศิลป์ สุดาพร ต้นรัก และ สมจิตร อินสองใจ. การพัฒนาชุดการทดลองเรื่องอุปกรณ์
                    อิเล็กทรอนิกส์ และวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6.การน าเสนอผลงานวิจัย

                    ระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17 ภาควิชาฟิสิกส์และ
                    วิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
               ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2516). ระบบการผลิตชุดการสอนแผนจุฬาฯ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์
                    มหาวิทยาลัย.

               น้าฝน คูเจริญไพศาล, กิ่งแก้ว แก้วทิพย์, คุณัญญา นงค์นวล และปิยลักษณ์ หะริตวัน. (2560). ผลการเรียนรู้
                    ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การแปรรูปน้ายางพารา ที่
                    บูรณาการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ (STEM). วารสารศึกษาศาสตร์
                    มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(1), 24.

               เบญจวรรณ ใจหาญ. (2550). การศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมฝึกทักษะการจัดการ
                    ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการนาเสนอความรู้ทางวิทยาศาสตร์
                    ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
   1   2   3   4   5   6   7