Page 63 - คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเอง
P. 63

เครื่องที่ 9 : เครื่องมือแสกมเปอร์ (sCamper)

 ขั้นตอนที่ 3 วิเคราะห์ความเป็นไปได้ของข้อมูล

    หลังเสร็จสิ้นการระดมความคิด ให้จัดหมวดหมู่ความคิดที่  การนำาไปพัฒนาได้ - การนำาแนวคิดไปทดสอบ
 ได้ และอภิปรายข้อดี ข้อเสีย ของแต่ละแนวทาง เพื่อเลือกนำามาพัฒนา
 ต่อไป  และปฏิบัติจริง (Reflection & Imple- mentation)

    จะเห็นได้ว่าเครื่องมือแสกมเปอร์ เป็นการใช้คำาสำาคัญ
 กระตุ้นให้เกิดการวิเคราะห์รอบด้านอย่างรวดเร็ว การใช้คำาสำาคัญจะ
 ช่วยให้ทุกเกิด ความเห็นที่แปลกใหม่และสร้างสรรค์ได้ ทั้งยังเป็นวิธี     แม้ว่าผู้พัฒนาจะมองเห็นทิศทางของการแก้ไขปัญหาและพัฒนาการบริการแล้ว แต่การนำาไป
 การกระตุ้นให้เกิดการคิดรอบด้าน จึงมองเห็นทางแก้ไขหรือพัฒนาได้  ปฏิบัติจริงให้สำาเร็จ จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้หากไม่มีการสร้างต้นแบบจำาลอง เพื่อนำาไปทดลองใช้และ
 แตกต่างจากเดิม  ทดสอบกับผู้ใช้บริการจริง จึงต้องใช้เครื่องมือสำาหรับทำาต้นแบบจำาลองอย่างง่าย และนำาต้นแบบไปทดสอบ
        ผลว่าแนวคิดที่เลือกใช้ ตอบสนองต่อผู้ใช้บริการได้จริงหรือไม่ หลักสำาคัญของขั้นตอนต่อไปนี้ คือ การ
    อย่างไรก็ตาม เครื่องมือทั้งสามเป็นเพียงการกระตุ้น  ทำาต้นแบบและทดสอบซ้ำาหลายครั้ง เพื่อนำาข้อมูลที่ได้รับมาพิจารณาและวิเคราะห์ ปรับปรุง และบริหาร
 แนวคิดเบื้องต้น ดังนั้นหลังจากระดมความคิด และวิเคราะห์ร่วมกัน  จัดการให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
 จนได้แนวทางที่ทางผู้ปฏิบัติงานเห็นตรงกันแล้วว่าจะนำามาพัฒนา
 ควรศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อปรับรายละเอียดให้เหมาะสม
 และทราบความเป็นไปได้ในการปฏิบัติจริง เพื่อวางแผนก่อนเข้าสู่ขั้น
 ตอนถัดไป






    ตอนนี้เราได้อะไรบ้าง
 > ข้อมูลเชิงลึกของกระบวนการบริการทั้งระบบ
 > ข้อมูลที่ผ่านการวิเคราะห์และจัดระเบียบ
 > แนวคิดการพัฒนาและแก้ไขปัญหาการบริการจากผู้ร่วม
 งานทุกคน
 > ทางเลือกที่จะนำาใช้พัฒนาการบริการ














 062                                                                           063
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68