Page 65 - คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเอง
P. 65

เครื่องมือที่ 10 การสร้างแบบจําลองหรือสถานการณ์จําลอง (prototypinG)  เครื่องมือที่ 10 การสร้างแบบจําลองหรือสถานการณ์จําลอง (prototypinG)


    ระหว่างการพัฒนาแนวคิด ยังไม่สิ้นสุดกระบวนการ การปรับระบบ  กระบวนการ
 การบริการทั้งหมด หรือจัดซื้อ จัดทำาสิ่งอำานวยความสะดวกเพิ่มเติม ตามทาง     การสร้างแบบจำาลองมีหลายวิธีการ เพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์ที่
 เลือกที่คิดขึ้นมาทั้งหมดย่อมเป็นการใช้งบประมาณสิ้นเปลือง และใช้ระยะเวลา  แตกต่างกัน ตั้งแต่การทำาแบบจำาลองด้วยอุปกรณ์อย่างง่ายที่หาได้ทั่วไปเพื่อ
 นานกว่าจะสำาเร็จ การสร้างแบบจำาลองหรือสถานการณ์จำาลอง คือการสร้าง  ทดสอบพฤติกรรมการใช้งาน การสวมบทบาทเพื่อจำาลองสถานการณ์การ
 ต้นแบบของสิ่งที่ผู้พัฒนาได้คิดและออกแบบขึ้นมาด้วยวิธีการที่ ง่ายและรวดเร็ว   บริการ ไปจนถึงการทำารูปลักษณ์เสมือนจริง เพื่อถามความเห็นเรื่องขนาด
 เพื่อเป็นตัวกลางในการสื่อสารให้ผู้ใช้บริการได้เห็นภาพ  ซึ่งเน้นการศึกษาและ  ความสวยงามและรูปแบบ ซึ่งผู้พัฒนาควรเลือกใช้ให้เหมาะกับแผนการดำาเนิน
 ทดสอบในประเด็นที่ต้องการ ยังไม่ทำาให้ได้ทดลองแนวคิดได้อย่างรวดเร็ว เพื่อ  งานแต่ละขั้นตอน
 ให้ได้ผลลัพธ์มาปรับปรุงแนวทางการพัฒนาได้อย่างตรงจุด
                           ขั้นตอนที่ 1 วางแผนการทํางาน
 เราจะได้อะไร
 - ต้นแบบเพื่อใช้ทดสอบการใช้งาน     หลังจากผ่านขั้นตอนระดมความคิด และเลือกวิธีที่จะนำามา
 - วิธีการที่เป็นรูปธรรม สำาหรับสื่อสาร สังเกต และสอบถามความคิดเห็นจากผู้  พัฒนาบริการแล้ว  ให้สรุปแนวคิดการ ที่จะนำามาสร้างแบบจำาลองจาก
 ใช้บริการ เพื่อนำาเสนอทางเลือกการพัฒนาบริการ  คำาถามว่าต้องการทดสอบอะไร และเริ่มลงมือทำาให้เร็วที่สุดที่เป็นไป
                            ได้ โดยการจัดทำาต้นแบบนั้นควรทำาด้วยอุปกรณ์อย่างง่าย ซึ่งใช้เวลา
 ข้อดี                      จัดทำาไม่นาน เพื่อนำาไปทดลองใช้เก็บข้อมูลขั้นต้นกลับมาพัฒนาต่อได้
 - ได้ทดลองทำาไปใช้ เพื่อทดสอบความเป็นไปได้ของแนวคิดอย่างเป็นรูปธรรม  รวดเร็ว
 และรวดเร็ว                 - ต้นแบบนี้ใช้เพื่อเก็บข้อมูลในแง่ใด (พฤติกรรม แนวคิด รูปลักษณ์
 - เป็นการจัดทำาอย่างง่าย จึงประหยัดค่าใช้จ่าย และสามารถจัดทำาหลายรูป  การตอบสนอง ฯลฯ)
 แบบเพื่อเป็นทางเลือก       - ผู้ใช้บริการที่ต้องการทดสอบเป็นใคร
 - ใช้สื่อสารกับผู้ใช้บริการให้เข้าใจตรงกัน และแสดงความเห็นต่อแนวทางการ  - ใช้ในสถานการณ์ใด
 พัฒนาได้ตรงประเด็น         - ใช้ในสภาพแวดล้อมใด
 - ประหยัดงบประมาณ และลดความล้มเหลวของการพัฒนาโครงการ  - มีการจำาลองสถานการณ์ จำาลองเหตุการณ์ เพิ่มเติมหรือไม่
 - มองเห็นความเป็นไปได้ของโครงการ และนำามาพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น  - มีต้นแบบกี่ทางเลือก อย่างไรบ้าง
                            - สิ่งที่คาดหวังจากการนำาต้นแบบไปทดสอบ
 ข้อจํากัด
 - ต้องใช้เวลาพอสมควรในการแก้ไขต้นแบบ ปรับปรุงจนกระทั่งได้แนวคิดที่
 สมบูรณ์
 - ควรสร้างต้นแบบและนำาไปทดสอบซ้ำาหลายครั้งเพื่อให้ได้ผลที่ดีที่สุด
 - การทดสอบเพื่อเก็บผลการใช้งานและพฤติกรรมเบื้องต้น ต้นแบบมักเป็นการ
 จัดทำาอย่างง่าย และอาจไม่ได้ใช้วัสดุเสมือนจริง ดังนั้น ควรแจ้งให้ผู้เข้าร่วม
 ทราบก่อน เพื่อไม่ให้รูปลักษณ์ความสวยงามของต้นแบบมีผลต่อการให้ความ
 คิดเห็น





 064                                                                           065
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70