Page 58 - คู่มือการเรียนรู้ด้วยตนเอง
P. 58
เครื่องมือที่ 8 การระดมความคิด : เราจะ...ได้อย่างไร? เครื่องมือที่ 8 การระดมความคิด : เราจะ...ได้อย่างไร?
(BrainstorminG : how miGht we...) (BrainstorminG : how miGht we...)
ขั้นตอนที่ 2 ระดมความคิด
เป็นการระดมความคิดโดยการใช้คำาถามว่าเราจะ.....ได้อย่างไร
(How Might We….)ในการกระตุ้นการระดมความคิด เพื่อให้ผู้ออกความเห็น ระดมความคิด โดยกระตุ้นให้ผู้ร่วมระดมความคิด แสดง
ตั้งคำาถามกับแนวคิดของตนเอง จากการนำาเอาความรู้สึกเชิงลึก (Insight) ต่อ ความเห็นเพื่อตอบคำาถามว่า “เราจะทำาอย่างไร” ด้วยรูปแบบคำาถาม
การบริการที่ต้องการพัฒนา หรือโจทย์ของการออกแบบมาตั้ง คำาถามเพื่อหา ดังนี้
โอกาสในการสร้างสิ่งใหม่ วิธีนี้แตกต่างจากการระดมความคิดแบบปกติ คือ จะ
มีการคำานึงถึงความเป็นไปได้มากขึ้น เนื่องจากเป็นการตอบคำาถามว่า “ทำาได้
อย่างไร” เราจะทำาอย่างไร.....
ข้อดี โจทย์การออกแบบ:…………(ระบุประเด็นปัญหาที่ยกขึ้นมาศึกษา หรือโจทย์
- เป็นการระดมความคิดอย่างมีระบบ การออกแบบ)
- สร้างแนวคิดและวิธีการแก้ไขปัญหาได้หลายมุมมอง (จากการพูดคุยกันถึงปัญหา หรือโจทย์การออกแบบ ให้ตอบว่า....)
- แนวคิดที่ได้จากเครื่องมือ เป็นแนวคิดที่มีความเป็นไปได้ ทำาอย่างไรให้ผู้สูงวัย ที่ไม่มีประสบการณ์การทำาหนังสือเดินทาง เข้ามาใช้
บริการได้สะดวกขึ้น
ข้อจํากัด ถ้าฉันเป็นผู้ใช้บริการ นี่คือสิ่งที่ฉัน ถ้าเป็นอย่างนั้น แล้วเราจะทำาอย่างไร
- ควรระวังไม่ให้เกิดการชี้นำาทางความคิด
- อาจมีผู้เสนอแนวทางหรือวิธีการแบบเดิมๆ ต้องการ.........
- ควรมีผู้นำากลุ่มหรือผู้ดำาเนินการที่เป็นกลาง และกระตุ้นให้ผู้ร่วมงานแสดง
ความคิดเห็นได้ 1. วิธีการใช้งานที่เข้าใจง่าย 1. เราควรจะ...... (ความเห็นที่เสนอ
2. …………... เพื่อระดมความคิด)
2. ………………..
ขั้นตอนที่ 1 ทําความเข้าใจโจทย์ร่วมกัน
ขั้นตอนที่ 3 จัดการข้อมูล
แสดงโจทย์การออกแบบ ประเด็นของปัญหา และความ
รู้สึกเชิงลึกของผู้ใช้บริการตามที่ได้วิเคราะห์กันในขั้นตอนที่ผ่านมา ให้ เมื่อระดมความคิดเสร็จแล้ว นำาความคิดที่ได้รับมาจัดกลุ่ม
ผู้ร่วมระดมความคิดทราบ และอภิปรายร่วมกันว่าแต่ละแนวทาง มีข้อดี ข้อเสียอย่างไร มีแนวคิด
ใดบ้างที่มีโอกาสต่อยอดเป็นการบริการที่ดีเหนือความคาดหมาย
อย่างไรก็ตาม การระดมความคิดด้วยวิธีนี้ แม้จะได้แนวคิดที่มีความ
เป็นไปได้มากขึ้น แต่หลักสำาคัญก็ยังเป็นการรวบรวมแนวคิดเบื้องต้น
ให้ได้จำานวนมาก ผลที่ได้จึงยังไม่ใช่ ข้อสรุปของการแก้ไขปัญหา แต่
เป็นการกระตุ้นให้เกิดทางเลือกที่เป็นไปได้มากขึ้น
058 059