Page 38 - sadasd
P. 38
1) วงจรก าลัง (Power circuit) เป็นวงจรที่น าเอาแต่เฉพาะส่วนของวงจรก าลังที่จ่ายก าลังไฟฟ้า
เข้าสู่มอเตอร์มาเขียนเท่านั้น โดยละเว้นการเขียนวงจรควบคุม โดยปกติแล้วจะมีแต่เพียงฟิวส์ก าลัง (F1), คอน
แทกเตอร์ (K1) และหน้าสัมผัสหลัก (Main contact), โอเวอร์โหลดรีเลย์ (ตัดส่วนที่เป็นหน้าสัมผัสออก) และ
มอเตอร์
ั
์
2) วงจรควบคุม (Control circuit) เป็นวงจรแสดงล าดบการท างานของอุปกรณ โดยเริ่มตั้งแต่
้
ิ
สายเมนจ่ายก าลังไฟฟ้า เขาสู่ฟิวส์ หรือเซอร์กิตเบรกเกอร์, หน้าสัมผัสของโอเวอร์โหลด, สวตช์ปุ่มกดปกติปิด
(N.C.) หรือสวตชปิด (OFF), สวิตชปุ่มกดปกติเปิด หรือสวตชเปิด (ON) และเรื่อยลงไปจนถงขดลวด (coil)
ิ
์
์
ึ
์
ิ
้
ึ
ของคอนแทกเตอร์ และ เขาสู่สายนิวทรัล วงจรทั้งหมดนี้ไล่เรียงล าดับกันตั้งแต่บนสุดจนถงล่างสุด วงจร
Schematic Diagram นี้มีประโยชน์มากในการออกแบบการท างาน และตรวจสอบการท างานของวงจร
รูปที่ 2.19 แบบแสดงการท างาน
ที่มา : นิพนธ์ เรืองวิริยะนันท์.การควบคุมไฟฟ้า
2.2.3 แบบวงจรสำยเดียว (One line Diagram)
ี
เป็นวงจรแสดงการท างานของวงจรก าลังอีกแบบหนึ่ง แต่เขยนวงจรด้วยสายเส้นเดียว มี
์
จุดประสงคเพื่อบอกอุปกรณหลักที่ใชในวงจรก าลัง และบอกจ านวนวงจรก าลัง หรือมอเตอร์ไฟฟ้าที่มีอยู่
้
์
ทั้งหมดในวงจรโดยละเว้นการแสดงวงจรควบคุม ผู้ที่จะเข้าใจวงจรนี้ได้ดีต้องเป็นผู้ที่มีความช านาญเท่านั้น
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก