Page 34 - sadasd
P. 34

ุ
                       4. แมกเนติกคอนแทกเตอร์ (Magnetic Contactor) (ไวพจน์ ศรีธัญ.การควบคมเครื่องกลไฟฟ้า.
               2552)

                                                                                        ิ
                                  ่
               ใช้อักษรก ากับคือ K เชน K1,K2 โดยทั่วไปมีการเรียกหลายชื่อ เช่น อาจเรียกว่า แมกเนตก หรือคอนแทคเตอร์
                     ิ
                                                                                             ้
                        ์
                                             ิ
                                               ์
               หรือสวตชแม่เหล็กท าหน้าที่เป็นสวตช ตัด-ต่อวงจรมอเตอร์ โดยอาศัยอ านาจแม่เหล็ก การใชแมกเนติกคอน
               แทคเตอร์แทนการสับสวิตช์ด้วยมือ มีข้อดีคือ
                        -  ใช้เป็นสวิตช์ตัด-ต่อ วงจรที่มีกระแสไฟฟ้าจ านวนมากได้ดีกว่าการใช้มือ
                        -  ปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน
                        -  ใช้ร่วมกับอุปกรณ์อื่นได้ เนื่องจากมีคอนแทคช่วย (Auxiliary Contact)
                     ส่วนประกอบของแมกเนติกคอนแทคเตอร์
                     แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
                     1. ส่วนที่อยู่กับที่ ได้แก่ ตัวโครงภายนอก ขดลวด (Coil) หลักต่อสาย (Terminal) แกนหน้าสัมผัสที่
               เคลื่อนที่ (Stationary Contact) เป็นต้น
                     2. ส่วนที่เคลื่อนที่ ได้แก่ แกนหน้าสัมผัสเคลื่อนที่ได้ (Moving contact) สปริงดึงกลับ สปริงกันชน















                       รูปที่ 2.12 ก. แมกเนตกคอนแทคเตอร์                  ข.สัญลักษณ  ์
                                           ิ
                                   บันทึกภาพเมื่อวันที่(1/08/59)

               หน้าสัมผัสหรือหน้าคอนแทคของแมกเนติกคอนแทคเตอร์ จะมีจ านวน 2 ชุด

                        ก. คอนแทคเมน (Main Contact) จะออกแบบให้มีขนาดใหญ่ทนกระแสได้มากใชงานต่อเขากับ
                                                                                              ้
                                                                                                      ้
                            วงจรก าลัง หรือต่อเข้ากับมอเตอร์โดยตรง คอนแทคเมนโดยปกติแล้วจะเป็นคอนแทคปกติเปิด
                            จ านวน 3 คอนแทค ด้านไฟเข้าจะใช้ขั้ว 1, 3, 5 ส่วนด้านไฟออกจะใช้ขั้ว 2, 4, 6

                        ข. คอนแทคช่วย (Auxiliary Contact) เป็นคอนแทคขนาดเล็ก ติดตั้งไว้ด้านข้างของแมกเนติกคอน
                            แทคเตอร์ ใช้ต่อกับวงจรควบคุม คอนแทคช่วยจะมีทั้งคอนแทคปกติเปิด และคอนแทคปกติปิด











                                                                                              32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39