Page 29 - sadasd
P. 29
หน่วยที่ 2
หลักกำรท ำงำนของอุปกรณ์ควบคุม
บทน ำ
การท างานของอุปกรณ์ควบคุมนั้น ผู้เรียนต้องรู้หลักการท างานของอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้ประกอบกับ
การควบคุมการท างานของมอเตอร์ เพื่อสั่งการท างานให้เป็นไปตามเงื่อนไขของผู้ก าหนด ดังนั้นจึงมีความ
จ าเป็นที่ต้องรู้จักกับอุปกรณ์ต่างๆการต่อใช้งานเพื่อความถูกต้องของการใช้งาน
2.1 หลักกำรท ำงำนของอุปกรณ ์
2.1.1 กำรท ำงำนของอุปกรณ์เตือนภัย
ุ
้
1. หลอดสัญญำณ (Pilot Lamp or Signal Lamp) หลอดสัญญาณจะใชต่อร่วมกับวงจรควบคม
ส าหรับแสดงผลการท างานแต่ละขั้นขอนของวงจร เช่นมอเตอร์ก าลังท างาน หรือเกิดสภาวะโอเวอร์โหลด โดย
หลอดสัญญาณจะมีหลายสี เช่น (ไวพจน์ ศรีธัญ.การควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า.2552)
- สีเขียว ใช้ส าหรับการท างานสภาวะปกติ นอกจากนี้ยังใช้แสดงการสิ้นสุดของวฏจักรของงาน และ
ั
เครื่องจักรพร้อมจะเริ่มสตาร์ทใหม่ได้อีก
- สีแดง ใช้ส าหรับแสดงสภาวะไม่ปกติ เช่น เกิดสภาวะโอเวอร์โหลดท าให้เครื่องจักรหยุดท างาน
ั
ั
ู
ึ
้
- สีเหลืองหรือสีส้ม ใชแสดงการเตือนภย หรือเตือนให้ระวง เชน เมื่ออุณหภมิ หรือกระแสถง
่
ขีดจ ากัด
- สีขาว แสดงว่าวงจรมีแรงดันปกติ เครื่องจักรก าลังท างาน หรือโปรแกรมปกติก าลังท างานอยู่
- สีน้ าเงิน ใช้ส าหรับการท างานพิเศษ
- ไฟกะพริบ ใช้ได้กับงานทุกชนิดด้วยสีที่สอดคล้องกัน
พิกัดแรงดันไฟฟ้าของหลอดจะมีหลายระดับขนอยู่กับการน ามาใชงาน เชน
้
่
ึ้
6V,12V,24V,48V,110V และ 220V เป็นต้น
์
รูปที่ 2.1 ก. หลอดสัญญาณ ข. สัญลักษณ
บันทึกเมื่อวันที่(1/08/59)
2. ออดไฟฟำ ใชในวงจรควบคม เมื่อมอเตอร์เกิดการท างานผิดปกติโอเวอร์โหลดจะทริปท าให้
้
้
ุ
ไซเรนหรือออดท างานใช้เป็นสัญญาณเตือนภัย
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก