Page 37 - sadasd
P. 37
2.2 แบบในกำรควบคุมมอเตอร์ (http://motor.lpc.rmutl.ac.th/module3/module3left.html)
กำรเขียนแบบในงำนควบคุมมอเตอร์
แผนผัง (Diagram) หรือการเขียนแบบ (Drawing) ส าหรับงานควบคุมมอเตอร์ หมายถึง การวางแผน
ุ
ิ
หรือการออกแบบ วงจรในการควบคมมอเตอร์ให้ท างานได้ตามความต้องการโดยวธีการเขียนแผนผัง หรือผัง
ี
งาน (Diagram) หรือการเขยนแบบ ตามมาตรฐานแบบใดแบบหนึ่ง อย่างไรก็ตามรูปแบบมาตรฐานของการ
เขียนแบบมีหลายรูปแบบหลายมาตรฐาน เชน มาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา และแคนาดา มาตรฐาน
่
ของประเทศเยอรมัน เป็นต้นในบางครั้งอาจจะพบว่าการเขียนแบบอาจจะรวมเอารูปแบบการเขียนที่แตกต่าง
กันหลายรูปแบบรวมเข้าไว้ด้วยกัน แต่สิ่งที่ส าคัญก็คือการเขียนแบบสามารถแปลความหมายให้เป็นที่เข้าใจได้
ถูกต้อง ประเภทของแบบที่ใช้เขียนในงานควบคุมมอเตอร์ที่นิยมกันทั่วไปแบ่งออกได้เป็น 4 แบบคือ
2.2.1 แบบงำนจริง (Working Diagram)
ุ
การเขยนแบบลักษณะนี้จะแสดงการท างานทั้งหมดของวงจรทั้งวงจรก าลัง และวงจรควบคม
ี
ี
่
โดยการเขยนรวมกันอยู่ในวงจรเดียวกัน เพื่อแสดงการท างานและความสัมพันธระหวางวงจร
์
ี
์
ี
ทั้งสอง การเขยนส่วนประกอบของอุปกรณใด ๆ จะเขยนเป็นชนเดียวไม่แยกออกจากกัน และสาย
ิ้
ต่าง ๆ จะต่อกันที่จุดเข้าสายของอุปกรณ์เท่านั้น ซึ่งเหมือนกับลักษณะของงานจริง ๆ
รูปที่ 2.18 แบบงานจริง
ที่มา : นิพนธ์ เรืองวิริยะนันท์.การควบคุมไฟฟ้า
2.2.2 แบบแสดงกำรทำงำน (Schematic Diagram)
แบบแผนผังออกแบบการท างานแบ่งตามลักษณะวงจร ออกได้เป็น 2 แบบ คือ วงจรก าลัง
(Power circuit) และวงจรควบคุม (Control circuit)
32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก