Page 35 - sadasd
P. 35

หลักกำรท ำงำนของแมกเนติกคอนแทกเตอร์ (Magnetic Contactor)
                     เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่อยู่ขากลางของแกนเหล็กขดลวดจะสร้าง

                                                                         ุ
               สนามแม่เหล็กที่แรงสนามแม่เหล็กชนะแรงสปริงดึงให้แกนเหล็กชดที่เคลื่อนที่เคลื่อนที่ลงมาในสภาวะนี้
                                                            ื
               (ON)คอนแทคทั้งสองชุดจะเปลี่ยนสภาวะการท างานคอคอนแทคปกติปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออก และคอน
               แทคปกติเปิดจะต่อวงจรของจุดสัมผัส เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปยังขดลวด สนามแม่เหล็กคอนแทค
               ทั้งสองชุดจะกลับไปสู่สภาวะเดิม


                       5. รีเลย์ช่วย (Auxiliary Relay) (ไวพจน์ ศรีธัญ.การควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า.2552)
                     ิ
                        ์
               เป็นสวตชแม่เหล็กเช่นเดียวกับแมกเนติกคอนแทคเตอร์ทั่วๆไป ต่างกันที่คอนแทคของรีเลย์ชวยทนกระแสได้
                                                                                            ่
                                                        ้
               ต่ ากว่า บางทีเรียกว่ารีเลย์ควบคม ส่วนใหญ่จะใชในวงจรควบคุมเนื่องจากมีจ านวนคอนแทคค่อนข้างมาก ทั้ง
                                          ุ
               แบบ NO และ NC มีอักษรก ากับคือ ตัว A เช่น K2A, K4A เป็นต้น











                             รูปที่ 2.13 ก. รีเลย์ช่วย                     ข.สัญลักษณ  ์

                      ที่มา : http://www.engineerfriend.com/wp-content/uploads/2012/10/42-43-01.jpg
                               http://motor.lpc.rmutl.ac.th/module2/symbole.html 1/08/59

                       6. หม้อแปลงกระแสไฟฟ้ำ (Current Transformer) (ไวพจน์ ศรีธัญ.การควบคุมเครื่องกลไฟฟ้า.
               2552)

                                         ่
                                                                                ่
                                                                                                 ่
                         นิยมเรียกสั้นๆ วา ซีที (CT) เป็นอุปกรณที่ใชประกอบการวดคากระแสไฟฟ้าที่มีคาสูงมากๆ
                                                              ์
                                                                 ้
                                                                              ั
                                       ู
                       ื
               วิธีการ คอ ต่อขดลวดปฐมภมิอนุกรมกับโหลด (Load) และด้านทุติยภูมิต่อเข้ากับแอมมิเตอร์ แต่ต้องเลือกใช ้
               แอมมิเตอร์ และซีทีให้สัมพันธ์กันด้วย เช่น ใช้ซีทีขนาด 100/5 ก็ควรเลือกใช้แอมมิเตอร์ขนาดเดียวกันด้วย






                           รูปที่ 2.14 ก.หม้อแปลงกระแสไฟฟ้า              ข. สัญลักษณ  ์
                  ที่มา : http://www.praguynakorn.com/picture/product/se01/current-transformers-msq40-
                                                    salser.jpg 1/08/59





                                                                                              32025301 การควบคุมไฟฟ้าและนิวแมติก
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40