Page 12 - วารสารข่าว รพ.ราชวิถี ฉบับที่ 1 / 2561
P. 12

  LET’s TALK                                                                                    Q: ปจจัยที่ทำใหเกิดโรคทางจิตเวชมีอะไรบาง

                                                                                                                        A: อยางที่อธิบายตอนตนเรื่องโรคจิตเภทวาเกิดจากสารโดปามีนในสมองที่หลั่งออกมาเยอะเกินไป
                      What is Schizophrenia?
                      รูทัน.. จิตเภท
                                                                                                                        ดังนั้นโรคจิตเวชอื่นๆก็จะมีสาเหตุหลักจากการทำงานที่ผิดปกติไปของสารสื่อประสาทในสมอง ขึ้นกับ
                                                                                                                        วาสารตัวนั้นทำหนาที่อะไร อาการที่แสดงออกมาก็จะเปนแบบนั้น อีกสวนก็คือปจจัยภายนอกทั้งความ
                                                                                                                        เครียด ความกดดันตางๆเชน ปญหาจากครอบครัว จากความสัมพันธ จากการเรียนหรือการทำงาน

           Q: จิตเภท / จิตเวช เหมือนหรือตางกันอยางไร                                                                  ที่กำลังสงผลอยู

             A: “จิตเภท” (Schizophrenia) เปนชื่อโรคทางจิตเวชโรคหนึ่ง ซึ่งเกิดจากสารสื่อประสาทสมองชื่อ โดปามีน         Q: ปญหาดาน EQ ต่ำ สงผลใหเปนโรคจิตเวชไดมั้ย

             (Dopamine) หลั่งออกมาในปริมาณที่มากเกินไป ทำใหมีความเชื่อที่ผิดไปจากความจริง ไดยินเสียงหรือเห็น          A: EQ ประกอบดวย ความสามารถในการรูเทาทันอารมณของตัวเอง (Self-awareness) ความสามารถ
             ภาพที่ไมมีอยูจริง ซึ่งการรักษาหลักคือการรับประทานยาอยางตอเนื่องควบคูไปกับการทำจิตบำบัด
                                                                                                                        จัดการอารมณที่ไมดี (Self-regulation) การมีแรงจูงใจ (Motivation) ความเห็นอกเห็นใจผูอื่น
             สวนคำวา “จิตเวช” นั้น ยังรวมถึงโรคอื่นๆ เชน โรคซึมเศรา โรคอารมณแปรปรวนสองขั้ว (โรคไบโพลาร)           (Empathy)และทักษะในการเขาสังคม (Social Skill) ซึ่งถามวา EQ แยสงผลโดยตรงมั้ย ก็คงไมใช
             โรควิตกกังวล โรคนอนไมหลับ และยังรวมถึงโรคจากการใชสารที่มีฤทธิ์ตอจิตประสาทอีกดวย ผูที่ใหการรักษา      และก็ไมใชวาทุกคนที่วุฒิภาวะทางอารมณไมดีจะเปนโรคทางจิตเวชไปทั้งหมด EQ ก็เปนสวนที่ฝกฝนได
             ก็จะประกอบไปดวยจิตแพทย และทีมสหวิชาชีพ เชน นักจิตวิทยา พยาบาล นักสังคมสงเคราะห                         ปรับปรุงได เรียนรูได ยกตัวอยางเชน ถาเราโกรธใครแลวใจรอนตอบโตเร็ว ไมทันระวังรูตัววากำลังโกรธ
                                                                                                                        เราก็จะเห็นวาผลเสียที่เกิดขึ้นเปนอยางไร ถาเรายังใชวิธีการเดิมไปเรื่อยๆ ก็จะทำใหเราทุกขมากขึ้น
           Q: ถาเกิดเรารูสึกเครียดมากๆ แปลวาเราเปนโรคจิตเวชมั้ย                                                     มีอารมณขุนมัวอยูตลอดซึ่งก็ไมเปนผลดีตอสุขภาพจิตของเราเองแตถาเราเรียนรูและปรับปรุง สุขภาพ
                                                                                                                        จิตก็ดีขึ้น โอกาสจะปวยดวยโรคทางจิตเวชก็นอยลงดวย
               A: ถาเราเครียด แตเรารับมือกับความเครียดได มีวิธีจัดการกับ
               ความเครียดที่เกิดขึ้น ใชชีวิตไดตามปกติ ความเครียดนั้นก็ยัง                                                          Q: คนปวยหรือผูที่มีภาวะเริ่มปวย ไมกลาหาหมอ
               ไมไดรุนแรงจนทำใหเราปวย เพราะการเจ็บปวยดวยโรคทาง                                                                     เพราะกลัวคนอื่นจะมองวาโรคจิต?
               จิตเวชนั้น เมื่อเกิดขึ้นแลวจะสงผลกระทบตอการ เรียน ทำงาน
               หรือเขาสังคมซึ่งกระทบมากนอยตามความรุนแรงของอาการ                                                                      A: สวนที่สำคัญคือ คนปวยไมกลาเขามาเพราะกลัวจะถูกตัดสิน อยากใหมองวาการปวย
                                                                                                                                       ดวยโรคจิตเวช ไมไดลดคุณคาความเปนมนุษยของคนคนนั้น จริงๆแลวตองชื่นชมคน
                                                                                                                                       ที่เขามาพบจิตแพทย เพราะเขารูเทาทันอารมณของตัวเอง รูวาเขาปลอยใหสภาพจิตใจ
                                                  ในกรณีที่อาการไมรุนแรงผูปวยจะพอทำงานหรือเขาสังคม                                 แยลงไมไดและตองการคนชวย สุขภาพจิตที่ดีเปนพื้นฐานสำคัญตอการใชชีวิตในแต
                                                  ไดควรชื่นชมในสวนที่ทำไดดี ใหกำลังใจ บางทีคนรอบขาง                               ละวัน และการเจ็บปวยนั้นก็อาจกลายเปนจุดเปลี่ยนสำคัญที่ทำใหไดเริ่มดูแลตัวเองใน
                                                  ไมเขาใจ พอเห็นอีกฝายเก็บตัว ไมอยากเขาสังคม ทำงาน
                                                  แยลง อาจเผลอไปตัดสินวาเขามนุษยสัมพันธไมดี หรือเขา                                การรูเทาทันอารมณตัวเอง รูจักจัดการความเครียด ทำใหมีภูมิคุมกันทางอารมณ
                                                  ยังพยายามไมมากพอ หรือไมพยายาม แตแทจริงแลวอาจจะ                                  มากขึ้นอีกดวย
                                                  เปนดวยอาการ และเขาก็กำลังพยายามจะประคับประคอง
                                                  ใหตัวเองกลับมาใชชีวิตไดตามปกติก็เปนได ผูปวยจิตเวช                                             “อยากใหมองวาการปวย
             ที่ใชชีวิตในสังคมได เขาใชความพยายามมากกวาคนที่ไมปวย เราควรเปนผูใหโอกาสแทนที่จะเปนผูตัดสิน        ดวยโรคจิตเวช ไมไดลดคุณคาความเปนมนุษยของคนคนนั้น”
             และปดโอกาสนั้น
                                                                                                                                                          พญ.จามรี ณ บางชาง
                                                                                                                                                    นายแพทยชำนาญการ กลุมงานจิตเวช
                                                                                                                                                                โรงพยาบาลราชวิถี
                     เชิญรวมบริจาคกับโครงการ “โรงพยาบาลราชวิถี ดีตอใจ ไดตอบุญ”
                     เพื่อสมทบทุนซื้อครุภัณฑทางการแพทย

                     และสรางอาคารศูนยการแพทยโรงพยาบาลราชวิถี                                                                 กลุมงานจิตเวช โรงพยาบาลราชวิถี
                     ไดที่เลขที่บัญชีธนาคารไทยพาณิชย 051-2-69056-1                                                            023548108 ตอ 2402 / 2953

            .indd   12                                                                      27/3/2561   11:14:37
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17