Page 11 - วารสารข่าว รพ.ราชวิถี ฉบับที่ 1 / 2561
P. 11

Rajavithi Hospital NEWS                                   วารสารข่าวโรงพยาบาลราชวิถี 11



                                                              ๔) โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-Commu
                                                       nicable  Diseases  :  NCDs) เนื่องจำกสตรี
                                                       วัยทองส่วนใหญ่มีอำยุมำกกว่ำ  ๕๐  ปีขึ้นไป
                                                       ซึ่งเป็นวัยที่ร่ำงกำยปรำกฏอำกำรของกระบวนกำร

                                                       กำรเสื่อมตำมอำยุ และเป็นช่วงอำยุที่พฤติกรรม
                                                       ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภำพจะเริ่มปรำกฏอำกำร โดย
                                                       โรคที่ส�ำคัญและพบบ่อย ได้แก่ ควำมดันโลหิตสูง
                                                       เบำหวำน หลอดเลือดหัวใจตีบ และมะเร็ง กำรดูแล
                                                       ที่ดีที่สุดคือกำรป้องกันกำรเกิดโรค ด้วยกำรส่งเสริม
                   ๓) โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis)     ให้ประชำชนมีสุขสภำวะที่ดี เช่น กำรรับประทำน

            สตรีวัยทองจะมีมวลกระดูกลดลงอย่ำงรวดเร็ว    อำหำร กำรออกก�ำลังกำย กำรรับวัคซีน ควบคุม
            ภำยหลังจำกกำรที่ร่ำงกำยขำดฮอร์โมนเพศ       กำรบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และงดสูบบุหรี่
            ซึ่งสำมำรถวินิจฉัยได้จำกกำรตรวจมวลกระดูก    รวมถึงกำรคัดกรองโรคตำมควำมเหมำะสมของ
            โดยจะตรวจมวลกระดูกเมื่อไหร่นั้นขึ้นอยู่กับ   กลุ่มวัย
            ข้อบ่งชี้ทำงกำรแพทย์ ยำที่ใช้รักษำมีทั้งชนิดฮอร์โมน     ดังนั้น  จะเห็นได้ว่า  การดูแลอาการ

            และชนิดที่ไม่ใช่ฮอร์โมน ร่วมกับกำรปรับพฤติกรรม  หรือโรคในสตรีวัยทองที่คุ้มค่าที่สุดตามหลัก
            กำรรับประทำนอำหำร เลือกรับประทำนอำหำร      เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข  คือ  การสร้างสุข
            ที่มีแคลเซียมและวิตำมินดีอย่ำงเพียงพอต่อ   สภาวะที่ดีให้กับประชาชน โดยเริ่มตั้งแต่วัยเด็ก
            ควำมต้องกำรของร่ำงกำย  หลีกเลี่ยงเครื่องดื่ม   ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกก�าลังกาย
            แอลกอฮอล์ ชำ กำแฟ และน�้ำอัดลม ในกรณีที่   การรับวัคซีน และการหลีกเลี่ยงสารเสพติดให้โทษ
            แพทย์ประเมินแล้วว่ำผู้ป่วยได้รับแคลเซียม         ส่วนการดูแลสตรีวัยทองที่มาพบแพทย์

            และวิตำมินดีไม่เพียงพอจำกอำหำร                      เมื่อมีอาการหรือเจ็บป่วย ควรเริ่มต้น
            จะพิจำรณำให้แคลเซียมและวิตำมินดีเสริม               ด้วยการรักษาที่ไม่ใช่ยา เช่น การปรับ
            อย่ำงไรก็ตำม  กำรดูแลที่ดีที่สุดก็คือ               พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
            กำรป้องกันก่อนเกิดโรค โดยส่งเสริม                   ปรับปรุงสภาพแวดล้อม  และการ
            ให้ประชำชนได้รับแคลเซียมและ                          สร้างความตระหนักต่อโรคหรือภาวะ

            วิตำมินดีให้เพียงพอตำมกลุ่มวัยโดย                    ที่เกิดขึ้น  ส่วนการเลือกใช้ยาหรือ
            เริ่มตั้งแต่ในวัยเด็ก  รวมทั้งส่งเสริม               อาหารเสริมควรผ่านการประเมินว่า
            กำรออกก�ำลังกำยเพื่อเสริมสร้ำงมวล                    มีความจ�าเป็นต้องใช้และพิจารณาถึง
            กระดูก                                               ความคุ้มค่าตามบริบทของประเทศ
                                                                 เป็นส�าคัญ







            .indd   11                                                                      27/3/2561   11:14:34
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16