Page 9 - วารสารข่าว รพ.ราชวิถี ฉบับที่ 1 / 2561
P. 9

Rajavithi Hospital NEWS                                   วารสารข่าวโรงพยาบาลราชวิถี 9



            วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส        วัคซีนป้องกันโรคงูสวัด
            ชนิดโพลีแซคคาไรด์                          (Varicella-zoster vaccine)
            (23-valent pneumococcal                           โรคงูสวัดพบอุบัติกำรณ์ของโรคมำกขึ้นตำมอำยุ

            polysaccharide vaccine12 ; PCV 23) โดยเฉพำะเมื่ออำยุมำกกว่ำ ๕๐ ปี โดยเชื่อว่ำเกิด
            และชนิดคอนจูเกต                            จำกมีกำรลดลงของภูมิคุ้มกันชนิด cell-mediated

            (13-valent pneumococcal                    immunity (CMI) ต่อเชื้อไวรัส Varicella-zoster
            conjugate vaccine; PCV-13)                 (VZV) ซึ่งจะลดลงตำมอำยุ ภำวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อย
                   กำรติดเชื้อนิวโมคอคคัส (S.pneumoniae)  ในผู้สูงอำยุ คือ อำกำรปวดปลำยประสำทหลังจำกเป็น
            เป็นสำเหตุส�ำคัญของกำรติดเชื้อที่รุนแรงในผู้สูงอำยุ  งูสวัด (post-herpetic neuralgia: PHN) โดยควำมเสี่ยง
            เช่น  กำรติดเชื้อในกระแสเลือด  และกำรติดเชื้อที่  ในกำรเกิด  PHN  จะเพิ่มมำกขึ้นตำมอำยุ  ปัจจุบัน
            เยื้อหุ้มสมอง โดยพบว่ำร้อยละ ๙๐ ของเชื้อนิวโมคอคคัส  มีกำรฉีดวัคซีนป้องกันโรคงูสวัดชนิดเชื้อเป็น  โดย

            ที่ก่อโรคติดเชื้อรุนแรงเป็นเชื้อที่เป็นซีโรทัยพ์ชนิดที่มีอยู่  กำรฉีดเข้ำใต้ผิวหนังจ�ำนวน ๑ เข็ม พบว่ำในช่วง ๓ ปี
            ใน PCV-๒๓  โดยแนะน�ำให้ฉีด ๑ ครั้ง ในช่วงวัยอำยุ ๖๕ ปี  ภำยหลังได้รับวัคซีน สำมำรถลดควำมเสี่ยงในกำรเกิด
            ขึ้นไปส่วนวัคซีน PCV-๑๓ ซึ่งเป็นวัคซีนที่ตอบสนองต่อ  โรคงูสวัดได้ร้อยละ ๕๑.๓ และแม้ว่ำ ผู้ที่รับวัคซีนจะมี

            กำรสร้ำงภูมิคุ้มกันได้ดีในผู้สูงอำยุ แต่ระดับภูมิคุ้มกัน  งูสวัดเกิดขึ้นก็พบว่ำสำมำรถป้องกันกำรเกิดภำวะ PHN
            จะลดลงภำยหลังกำรฉีดวัคซีนประมำณ ๕-๑๐ ปี ปัจจุบัน  ได้ร้อยละ ๖๖.๕ เมื่อเปรียบเทียบ กับผู้ที่เป็นงูสวัด
            แนะน�ำให้ฉีดเข้ำกล้ำมเนื้อ ๑ เข็ม ในผู้สูงอำยุที่มีอำยุ  แต่ไม่ได้รับวัคซีน
            มำกกว่ำ ๕๐ ปีขึ้นไป                               “การฉีดวัคซีนในผู้สูงอายุมีความจ�าเป็น

                                                       อย่างมาก ซึ่งการฉีดวัคซีนจะช่วยป้องกันการติดเชื้อ
                                                       และสามารถลดความรุนแรงของการเกิดโรค รวมทั้ง
                                                       ยังเป็นการลดค่าใช้จ่ายที่ต้องสูญเสียจากการเกิดโรคด้วย
                                                       ดังนั้น ผู้สูงอายุควรรับการฉีดวัคซีนตามค�าแนะน�า
                                                       การท�าให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีอยู่เสมอ เป็นวิธีการ
                                                       ที่ส�าคัญที่สุด ในการช่วยประเทศทั้งทางเศรษฐกิจ
                                                       และสังคม”
             เอกสารอ้างอิง :
             ๑.  Centers for Disease Control and Prevention (CDC). Immunization Schedules for Adults; 2014. [Online] [Cited
               1 December 2014]. Available from: http://www.cdc.gov/vaccines/schedules/easy-to-read/adult.html#vaccines.
             ๒.  ธีระพงษ์ ตัณฑวิเชียร. วัคซีนป้องกันโรคส�ำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอำยุ. สมำคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย [Online]. ๒๐๑๒
               [Cited 1 December 2014]. Available from:http://pidst.or.th/vaccine_article_detail.php?id=80.
             ๓.  ค�ำแนะน�ำกำรให้วัคซีนป้องกันโรคส�ำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอำยุ รำชวิทยำลัยอำยุรแพทย์แห่งประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๕๗.
             ๔.  โอฬำร พรหมำลิขิต. วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อนิวโมคอคคัส. สมำคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทย [Online]. ๒๐๑๒ [Cited 1
               December 2014]. Available from: http://pidst.or.th/vaccine_article_detail.php?id=80.







            .indd   9                                                                       27/3/2561   11:14:27
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14