Page 9 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 9

๒




                          “คอรรัปชัน” เปนโรคระบาดที่รายแรง จนเปน “วัฒนธรรม” ของสวนราชการ โดยอางวา
              ตองมีเงินบริหารพิเศษเพื่อรับรองบุคคลที่มาเยี่ยมเยือน ทั้งที่มาราชการและสวนตัว บางครั้งนโยบาย

              หรือการสั่งการของหนวยเหนือไดสรางปญหาคาใชจายใหกับหนวยรอง ทําใหมีคําถามวา คาใชจายสวนนี้
              จะมาจากไหน ถาไมขอความรวมมือจากภาคเอกชนหรือคูสัญญาของรัฐ ดวยเหตุนี้จึงมีการเรียกรับเงิน

              ของสวนราชการ เพื่อใชในการรับรองและคาใชจายที่ไมสามารถเบิกจายไดจากงบประมาณ ซึ่งถา
              พิจารณาในแงกฎหมายแลวเปนการประพฤติ “มิชอบ” ดวยการเรียกรับ “สินบน” บางสวนราชการเลี่ยง

              ดวยการจัดกิจกรรมหารายได เชน การจัดแขงขันกอลฟ โบวลิ่ง ฯลฯ อันเปนการกระทําที่ขัดตอระเบียบ
              สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการเรี่ยไรของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งระเบียบนี้ครอบคลุมถึง

              การที่เจาหนาที่ของรัฐไปเปนประธานจัดกิจกรรมเรี่ยไร และเขาขายผิดกฎหมายสรรพากรอีกดวย
                          เมื่อพูดถึง “ประพฤติมิชอบ” ประมวลกฎหมายอาญาไดใหนิยามวา “ไมเปนไปตามกฎหมาย

              ระเบียบของทางราชการ คําสั่งผูบังคับบัญชา มติคณะรัฐมนตรี แบบธรรมเนียมของทางราชการ หรือ
              ตามทํานองคลองธรรม” ซึ่งหมายถึง ไมเปนไปตามที่ถูกที่ควร ทําใหฐานความผิดนี้ มีความหมาย
              กวางมาก จึงมีการกระทําผิดกัน ทั้งรูและไมรูวา “ผิด” เมื่อมีการหาเงินเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติราชการได

              สิ่งที่ตามมา คือ การเรียกรับสินบนของเจาหนาที่ของรัฐเพื่อประโยชนของตนเองและพวกพอง
              อันมีสาเหตุมาจาก “ความโลภ” ที่ฝงอยูในใจของคนก็เกิดขึ้น

                          เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
              มีพระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ณ หอประชุม

              มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗  ความวา “...การพัฒนา
              ประเทศจําเปนตองทําตามลําดับขั้น ตองสรางพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใชของประชาชน

              สวนใหญเปนอันพอควรและปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจ
              ขั้นที่สูงขึ้นโดยลําดับตอไป หากมุงแตจะทุมเทสรางความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นใหรวดเร็วแตประการเดียว

              โดยไมใหแผนปฏิบัติการสัมพันธกับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคลองดวย ก็จะเกิด
              ความไมสมดุลในเรื่องตาง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเปนความยุงยากลมเหลวไดในที่สุด...”

                          หลักการโดยพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียงนั้น เปนการพิจารณาพื้นฐานจากวัฒนธรรม
              ความเปนอยูของคนไทยนับตั้งแตอดีตสูปจจุบัน และพัฒนาการของระบบเศรษฐกิจแบบยังชีพสูระบบ

              เศรษฐกิจแบบทุนนิยมในประเทศไทย โดยในพระบรมราโชวาทเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงในชวงแรกนั้น
              พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะทรงมีพระบรมราโชวาทวา “พอมี พอกิน พอใช” มิไดมีพระบรม

              ราโชวาทตรงๆ วา “เศรษฐกิจพอเพียง” จนกระทั่งในป ๒๕๔๑ เมื่อเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจครั้งใหญ
              ในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสแกคณะบุคคลที่เขาเฝาฯ เนื่องใน
              วันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑  ความตอนหนึ่งวา…

                          “…เมื่อป ๒๕๑๗ วันนั้นไดพูดถึงวา เราควรปฏิบัติใหพอมีพอกิน พอมีพอกินนี้ก็แปลวา

              เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถาแตละคนมีพอมีพอกินก็ใชได ยิ่งถาทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และ
              ประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเปนไมพอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไมมีเลย…
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14