Page 12 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 12

๕




                 มีความคิดอันนี้ มีความคิดวาทําอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ ซื่อตรง ไมโลภ
                 อยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงนี้อาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได แตวาตองไมไป

                 เบียดเบียนคนอื่น...” (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑)
                             “...ไฟดับถามีความจําเปน หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไมเต็มที่ เรามีเครื่องปนไฟก็ใช

                 ปนไฟ หรือถาขั้นโบราณกวา มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแกปญหาเสมอ ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงก็มี
                 เปนขั้นๆ แตจะบอกวาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ใหพอเพียงเฉพาะตัวเองรอยเปอรเซ็นตนี่เปนสิ่งทําไมได

                 จะตองมีการแลกเปลี่ยน ตองมีการชวยกัน ถามีการชวยกัน แลกเปลี่ยนกัน ก็ไมใชพอเพียงแลว แตวา
                 พอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้ คือใหสามารถที่จะดําเนินงานได...” (๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒)

                             “...โครงการตางๆ หรือเศรษฐกิจที่ใหญ ตองมีความสอดคลองกันดีที่ไมใชเหมือน
                 ทฤษฎีใหม ที่ใชที่ดินเพียง ๑๕ ไร และสามารถที่จะปลูกขาวพอกิน กิจการนี้ใหญกวา แตก็เปนเศรษฐกิจ

                 พอเพียงเหมือนกัน คนไมเขาใจวากิจการใหญๆ เหมือนสรางเขื่อนปาสักก็เปนเศรษฐกิจพอเพียง
                 เหมือนกัน เขานึกวาเปนเศรษฐกิจสมัยใหม เปนเศรษฐกิจที่หางไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง แตที่จริงแลว
                 เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...” (๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒)

                             “...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ทําอะไรใหเหมาะสมกับฐานะของตัวเอง คือ
                 ทําจากรายได ๒๐๐ – ๓๐๐   บาท ขึ้นไปเปนสองหมื่น สามหมื่นบาท คนชอบเอาคําพูดของฉัน เศรษฐกิจ

                 พอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือทําเปน Self-Sufficiency มันไมใชความหมาย
                 ไมใชแบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือเปน Self-Sufficiency of Economy เชน ถาเขาตองการดูทีวี ก็ควร

                 ใหเขามีดู ไมใชไปจํากัดเขาไมใหซื้อทีวีดู เขาตองการดูเพื่อความสนุกสนาน ในหมูบานไกลๆ ที่ฉันไป
                 เขามีทีวีดูแตใชแบตเตอรี่ เขาไมมีไฟฟา แตถา Sufficiency นั้น มีทีวีเขาฟุมเฟอย เปรียบเสมือนคน

                 ไมมีสตางคไปตัดสูทใส และยังใสเนคไทเวอรซาเช อันนี้ก็เกินไป...”  (๑๗ มกราคม ๒๕๔๔)
                             เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่ชี้แนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนใน

                 ทุกระดับ รวมถึงระดับรัฐบาลในการพัฒนาและบริหารประเทศ ใหดําเนินไปในทางสายกลาง เปน
                 แนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตน

                 และความเปลี่ยนแปลงตางๆ
                             เศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวคิดที่ยึดหลักทางสายกลาง คําวา ความพอเพียง นั้นหมายถึง

                 ความพรอมที่จะจัดการกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากทั้งภายนอกและภายใน ระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง
                 ยังสามารถมองไดวาเปนปรัชญาในการดํารงชีวิตใหมีความสุข ที่จําเปนตองใชทั้ง ความรู ความเขาใจ

                 ผนวกกับคุณธรรมในการดําเนินชีวิต เศรษฐกิจพอเพียงไมใชเพียงการประหยัด แตเปนการดําเนินชีวิต
                 อยางชาญฉลาด และสามารถอยูได แมนในสภาพที่มีการแขงขัน และการไหลบาของโลกาภิวัตน นําสู
                 ความสมดุล มั่นคง และยั่งยืนของ ชีวิต เศรษฐกิจ และสังคม
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17