Page 15 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 15

๘




              มาได เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปสูเปาหมายของการสรางความมั่นคงในทางเศรษฐกิจได เชน
              โดยพื้นฐานแลว ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเนนที่เศรษฐกิจ

              การเกษตร เนนความมั่นคงทางอาหาร เปนการสรางความมั่นคงใหเปนระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง
              จึงเปนระบบเศรษฐกิจที่ชวยลดความเสี่ยง หรือความไมมั่นคงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได เศรษฐกิจ

              พอเพียง สามารถประยุกตใชไดในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไมจําเปนจะตองจํากัด
              เฉพาะแตภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แมแตภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรัพย และการคา

              การลงทุนระหวางประเทศ โดยมีหลักการที่คลายคลึงกันคือ เนนการเลือกปฏิบัติอยางพอประมาณ
              มีเหตุมีผล และสรางภูมิคุมกันใหแกตนเองและสังคม



              ¡Òô Óà¹Ô¹ªÕÇÔμμÒÁá¹Ç¾ÃÐÃÒª´ ÓÃÔàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

                          พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงเขาใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น เมื่อไดพระราชทาน
              แนวพระราชดําริ หรือพระบรมราโชวาทในดานตางๆ จะทรงคํานึงถึงวิถีชีวิต สภาพสังคมของประชาชนดวย

              เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางความคิดที่อาจนําไปสูความขัดแยงในทางปฏิบัติได

              แนวการปฏิบัติตามพระราชดําริในการดําเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง มีแนวทางดังนี้
                          ๑.  ยึดความประหยัด ตัดทอนคาใชจายในทุกดาน ลดละความฟุมเฟอยในการใชชีวิต
                          ๒.  ยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตอง ซื่อสัตยสุจริต

                          ๓.  ละเลิกการแกงแยงผลประโยชนและแขงขันในทางการคาแบบตอสูกันอยางรุนแรง
                          ๔.  ไมหยุดนิ่งที่จะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยากดวยการขวนขวายใฝหา

              ความรูใหมีรายไดเพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเปนเปาหมายสําคัญ
                          ๕.  ปฏิบัติตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตามหลักศาสนา



              ¡ÒþѲ¹Ò»ÃÐà·ÈμÒÁá¹ÇàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

                          การพัฒนาประเทศมิไดมีแบบอยางตายตัวตามตํารา หากแตตองเปนไปตามสภาพ

              ภูมิประเทศทางภูมิศาสตร สังคมวิทยา วัฒนธรรมชุมชน ที่มีความหลากหลาย ในขณะเดียวกันกระแส
              การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็วตามอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตน จําเปน

              ที่จะตองพยายามหาแนวทางดํารงชีวิตตามหลักการพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหเกิด
              ความสมดุลและสอดคลองกับสภาพแวดลอม เพื่อสรางเปนภูมิคุมกัน ปองกันผลกระทบตอชุมชน

              เอกลักษณ และวัฒนธรรมของชุมชน มิใหลมสลายไป
                          จากแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางที่ใหประชาชนดําเนินตามวิถี

              แหงการดํารงชีพ ศานติสุข โดยมีธรรมะเปนเครื่องกํากับ และใจตนเปนสําคัญ ซึ่งก็คือ วิถีชีวิตไทย
              ที่ยึดทางสายกลางของความพอดี ในหลักพึ่งพาตนเอง ๕ ประการดังนี้
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20