Page 13 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 13

๖



              ËÅÑ¡»ÃѪÞÒàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

                          เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาชี้แนวทางการดํารงอยู และการปฏิบัติของประชาชน

              ในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน ถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศ
              ใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน

                          ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตอง
              มีภูมิคุมกันในตัวเอง ที่มีตอผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งจากภายนอกและภายใน

              ซึ่งจะตองอาศัย ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวัง ในการนําวิชาตางๆ มาใชในการ
              วางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน ขณะเดียวกันยังตองเสริมสรางพื้นฐานทางดานจิตใจของคนในชาติ

              โดยเฉพาะเจาหนาที่รัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีจิตสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย
              สุจริต และใหมีความรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ มีปญญา

              และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการเปลี่ยนแปลงที่เปนไปอยางรวดเร็วและกวางขวาง
              ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก
                          ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงพระกรุณาปรับปรุงแกไขพระราชทานขางตน

              เปนที่มาของ นิยาม “๓ หวง ๒ เงื่อนไข” ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สํานักงาน
              คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นํามาใชในการรณรงคเผยแพรปรัชญาเศรษฐกิจ

              พอเพียง ผานชองทางตางๆ อยูในปจจุบัน ซึ่งประกอบดวยความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน
              บนเงื่อนไข ความรู และ คุณธรรม
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18