Page 16 - 06_การปองกนและปราบปรามการทจรต_Neat
P. 16

๙




                             ๑.  ความพอดีดานจิตใจ ตองมีความเขมแข็ง พึ่งตนเองได มีจิตสํานึกที่ดี เอื้ออาทร
                 ประนีประนอม โดยคํานึงถึงประโยชนสวนรวม

                             ๒.  ความพอดีดานสังคม คือ ความชวยเหลือเกื้อกูลกัน สรางความเขมแข็งใหแกชุมชน
                 รูจักผนึกกําลัง และที่สําคัญ ตองมีกระบวนการเรียนรูเพื่อใหเกิดรากฐานที่มั่นคงและแข็งแรง

                             ๓.  ความพอดีดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตองรูจักใชและจัดการอยางฉลาด
                 และรอบคอบ เพื่อใหเกิดความยั่งยืนสูงสุด

                             ๔.  ความพอดีดานเทคโนโลยี ตองรูจักประยุกตใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ใหสอดคลองกับ
                 ความตองการ และควรจะพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปญญาชาวบานของเราเอง เพื่อใหเกิดประโยชนตอ

                 สภาพแวดลอมของเราเอง
                             ๕.  ความพอดีดานเศรษฐกิจ ตองรูจักเพิ่มรายได ลดรายจาย ดํารงชีวิตอยางพอสมควร

                 พออยูพอกินตามอัตภาพ และฐานะของตนเอง
                             จะเห็นไดวาการพัฒนาจะเริ่มจาก การสรางพื้นฐาน ความพอกินพอใช ของประชาชน
                 ในชาติเปนสวนใหญกอน แลวจึงคอยเสริมสรางความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจ ตามลําดับ เพื่อให

                 เกิดความสมดุลทางดานตางๆ หรือดําเนินการใหเปนไปเปนขั้นเปนตอน มิใชการกาวกระโดด ที่ตอง
                 พึ่งปจจัยจากภายนอกมาเปนตัวกระตุน ซึ่งมักแตจะสรางปญหาตามมาอยางมากมายและไมยั่งยืน

                 ดังนั้นวิธีการตางๆ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงเปนหนทางที่มั่นคง มีลําดับขั้นตอนในการ
                 ปฏิบัติที่จะใหประชาชนในชาติและพื้นฐานของเศรษฐกิจโดยรวม มีความเขมแข็ง มีรากฐานที่มั่นคง

                 ยั่งยืนอยางยาวนานอยางแทจริง
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21