Page 9 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 9

๒




              õ. ¡Ô¨¡ÃÃÁá¹Ðนํา

                          ๕.๑  ผูสอนตั้งปญหาใหนักเรียนวินิจฉัยเปนรายบุคคล และสวนรวม เพื่อใหรูจักคิด
              วิเคราะหและวิจารณเนื้อหาที่เรียน ดวยการนําเทคนิค วิธีการตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนสนใจและติดตาม
              การสอนตลอดเวลา และเชื่อมโยงกับวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับเนื้อหา ซึ่งผูเรียนตองสามารถบูรณาการ

              ความคิดได
                          ๕.๒  ผูสอนตั้งคําถามเพื่อประเมินความรู ดวยการทําแบบฝกหัดหลังเรียนและสรุปเนื้อหา

              ที่เรียนพรอมทั้งสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมที่ขาราชการตํารวจควรปฏิบัติ
                          ๕.๓  ผูสอนแนะนําแหลงขอมูลที่จะศึกษาคนควาเพิ่มเติม




              ö. ÃÒ¡ÒÃ͌ҧÍÔ§

                          กุลพล พลวัน.สิทธิมนุษยชนในสังคมโลก.พิมพครั้งที่ ๑ กรุงเทพมหานคร:สํานักพิมพ
                               นิติธรรม, ๒๕๔๗

                          วิษณุ เครืองาม. “ที่มาของสิทธิมนุษยชน” เอกสารประกอบการบรรยายในการฝกอบรม
                               สังคมศาสตรเพื่อการพัฒนา:สิทธิมนุษยชนในสังคมไทย, สํานักเสริมศึกษาและบริการ

                               สังคม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๓, หนา ๓.
                          อุดมศักดิ์ สิทธิพงษ.สิทธิมนุษยชน.กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพวิญูชน, ๒๕๔๘.
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14