Page 13 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 13

๖




                                   รัฐเดี่ยวมีอยูมากในโลกนี้ และมีในทุกทวีป เชน ไทย ฯลฯ รัฐเดี่ยวนั้น
              ไมจําเปนตองตั้งอยูบนผืนแผนดินเดียวกัน และติดตอกันไป ตัวอยางเชน ญี่ปุน อินโดนีเซีย เปนตน

              อาจประกอบดวยดินแดนหลายดินแดนอยูแยกหางจากกัน โดยมีประเทศอื่นคั่นอยูก็ได ตัวอยางเชน
              ประเทศปากีสถาน และตุรกี เปนตน
                             ๑.๒  รัฐรวม คือ รัฐตางๆ ตั้งแต ๒ รัฐขึ้นไป ซึ่งไดเขามารวมกันภายใตรัฐบาลเดียวกัน
              หรือประมุขเดียวกัน อาจดวยความสมัครใจของทุกรัฐเพื่อประโยชนรวมกัน โดยที่แตละรัฐตางก็ยังคง

              มีสภาพเปนรัฐอยูอยางเดิม เพียงแตการใชอํานาจอธิปไตยไดถูกจํากัดลงไปบาง มากบางนอยบาง
              ตามแตรัฐธรรมนูญจะกําหนด หรือตามแตขอตกลงที่ไดใหไว ทั้งนี้ เพราะวาไดนําเอาอํานาจนี้บางสวน

              มาใหรัฐบาล หรือ ประมุข เปนผูใช ซึ่งแตละรัฐนั้นอยูภายใตอํานาจสูงสุดเดียวกัน ในอดีตรัฐรวมจะมี
              ๒ รูปแบบ คือ สมาพันธรัฐ และ สหพันธรัฐ   แตปจจุบันนี้จะเหลือแต สหพันธรัฐ
                                   ลักษณะสําคัญของรูปแบบรัฐบาลตามแบบ สหพันธรัฐ (Federalism) คือ
              การแบงแยกอํานาจ (Division of Power) ระหวางรัฐบาลกลาง (Central Government) และ

              รัฐบาลมลรัฐ (State Government) โดยที่องคประกอบของแตละหนวยที่มารวมตัวกันเปนสหพันธรัฐ
              ตองมีขอบเขตอาณาบริเวณที่ชัดเจน และทั้งรัฐบาลกลาง และรัฐบาลทองถิ่นตางมีอํานาจโดยตรงจาก

              รัฐธรรมนูญของตนเอง และเปนอํานาจที่ไมกาวกายซึ่งกันและกัน อีกทั้งการสรางสมดุลระหวางอํานาจ
              ระหวางทองถิ่น และรัฐบาลกลางเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่ง
                                   ดังนั้น มลรัฐจึงมีอํานาจที่จะสามารถควบคุม ดูแลประชาชนภายในมลรัฐ
              ของตน แตหลักการสําคัญ คือ อํานาจนั้นตองไมขัดกับความตองการ และสวัสดิภาพของชาติโดยสวน

              รวมอํานาจ โดยที่หนาที่ซึ่งแตละมลรัฐมีภายในรัฐของตนได ก็อยางเชน การศึกษา การสาธารณสุข
              กฎหมายการแตงงาน การหยาราง การเก็บภาษีทองถิ่น การควบคุม และดําเนินการเลือกตั้ง ดังนั้น

              แมวารัฐสองรัฐจะอยูติดกันแตอาจมีกฎหมายในเรื่องเดียวกันตางกันได


                          ò. ¾Ô¨ÒóҨҡ»ÃÐÁØ¢¢Í§ÃѰ
                             ๒.๑  ราชอาณาจักร (Kingdom) คือ รัฐที่มีพระมหากษัตริย (King) เปนประมุข

              ซึ่งการเขาสูตําแหนงพระมหากษัตริยเปนไปตามวิธีการสืบราชสันตติวงศและสถานะของประมุข
              ของรัฐที่เปนพระมหากษัตริยจะอยูในฐานะที่ละเมิดไมไดจะถูกวิพากษวิจารณในทางการเมือง จะถูก

              ฟองรองในคดีแพงคดีอาญาไมได รัฐที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุข จะมีรูปแบบการปกครองในระบอบ
              สมบูรณาญาสิทธิราชย หรือประชาธิปไตยก็ได หากรัฐที่มีพระมหากษัตริยเปนประมุขในการปกครอง
              ระบอบประชาธิปไตย พระมหากษัตริยจะทรงมีพระราชอํานาจเพียงเทาที่รัฐธรรมนูญและกฎหมาย

              ถวายแดพระองคเทานั้น ในกรณีที่ไมมีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายถวายพระราชอํานาจดานใดให
              พระมหากษัตริย ก็หมายความวา พระมหากษัตริยไมมีพระราชอํานาจในประการนั้น
                             ๒.๒  สาธารณรัฐ (Republic) หรือมหาชนรัฐ หมายถึง รัฐซึ่งมีสามัญชนเปนประมุข

              กลาวคือ ผูเปนประมุขของรัฐมิไดอยูในฐานะที่อันเปนที่เคารพสักการะผูใดจะละเมิดมิไดเหมือน
              พระมหากษัตริย เปนเพียงสามัญคนธรรมดาและถูกวิพากษวิจารณได สามารถจะถูกฟองรองในคดีแพง
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18