Page 14 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 14

๗




                 หรือคดีอาญาไดเหมือนกับราษฎรอื่นทุกประการ ซึ่งประมุขของรัฐที่เปนสาธารณรัฐหรือมหาชนรัฐ
                 จะมีชื่อเรียกแตกตางกัน เชน ประธานาธิบดี ทานผูนํา เปนตน รูปแบบของการปกครองสาธารณรัฐ

                 หรือมหาชนรัฐ ซึ่งมีสามัญชนเปนประมุขมีการปกครองอยู ๒ ระบอบ คือ ระบอบประชาธิปไตย
                 กับ ระบอบเผด็จการ
                             ÁÒμÃÒ ñ  ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบงแยกมิได
                             คําอธิบาย  มาตรานี้มีสาระสําคัญ ๒ ประการ คือ

                             ๑.  การกลาวรูปแบบการปกครอง เพราะคําวา “ราชอาณาจักร” บงบอกถึงประมุขของรัฐ
                 เปน “กษัตริย”  ถาประมุขของรัฐเปนบุคคลธรรมดา จะใชคําวา “สาธารณรัฐ”

                             ๒.  การกลาวถึงการจัดระเบียบแหงการใชอํานาจอธิปไตยของรัฐ ซึ่งคําวา “อันหนึ่ง
                 อันเดียวจะแบงแยกมิได” หมายถึงการปกครองแบบรัฐเดี่ยว
                             ÁÒμÃÒ ò  ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
                 ทรงเปนประมุข

                             คําอธิบาย มาตรานี้มีสาระสําคัญ คือ
                             ๑.  เปนการวางหลักการปกครอง ที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขในระบอบประชาธิปไตย

                 อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ตางจากการปกครองที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
                 อีกแบบหนึ่ง คือ ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ในลักษณะปรมิตาญาสิทธิราชย (หรือ ราชาธิปไตย) เชน
                 ซาอุดีอาระเบีย บรูไน เปนตน
                             ๒.  ระบอบประชาธิปไตย ซึ่งระบอบประชาธิปไตย อาจมีประมุขที่เปนกษัตริย หรือเปน

                 ประมุขที่เปนบุคคลธรรมดา ตางไปจากระบอบเผด็จการ เชน จีน เกาหลีเหนือ เปนตน
                             ÁÒμÃÒ ó  อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยผูทรงเปนประมุข

                 ทรงใชอํานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ
                             รัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล องคกรอิสระ และหนวยงานของรัฐ ตองปฏิบัติหนาที่ใหเปนไป
                 ตามรัฐธรรมนูญ กฎหมาย และหลักนิติธรรม เพื่อประโยชนสวนรวมของประเทศชาติและความผาสุก
                 ของประชาชนโดยรวม

                             คําอธิบาย มาตรา ๓ นี้ กลาวถึงสาระสําคัญ อยู ๓ ประการ ดังนี้
                             ๑.  อํานาจอธิปไตย ที่กลาวถึง “อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน” “อํานาจอธิปไตย

                 เปนของชาติ” ใชรวมกันเปน “อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน”
                             ๒.  หลักการแบงแยกอํานาจ คือ อํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหาร และอํานาจตุลาการ
                 (ความเปนหลักนิติรัฐ) รวมการใชอํานาจกึ่งนิติบัญญัติ กึ่งบริหาร กึ่งตุลาการ ก็คือ องคกรอิสระ

                             ๓.  หลักนิติธรรม กลาวคือ
                                 ๓.๑  ฝายปกครองกระทําตามอําเภอใจไมได

                                 ๓.๒  ไมมีบุคคลใดอยูเหนือกฎหมาย ทุกคนตองอยูภายใตกฎหมาย
                                 ๓.๓  การบังคับใชกฎหมายตองกระทําอยางเสมอภาค
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19