Page 71 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 71
๖๒
ขอปฏิบัติ (DO) ขอควรรู (Don’t)
• เมื่อไดรับของขวัญแลวยังไมควรเปดออก
ทันที
• ชาวกัมพูชาไมชอบใหใครยกผูอื่นขึ้นมา
เปรียบเทียบกับตนเอง
• ไมควรเตนรํากับคูเตนตางเพศ ไมวาจะเปน
การเตนรําในงานประเพณีหรืองานสังคม
รื่นเริง
ªÒμԾѹ¸Ø¡Ñº¡ÒÃàÁ×ͧàÃ×èͧª¹¡ÅØ‹Á¹ŒÍÂã¹Êѧ¤Áä·Â
นักมานุษยวิทยาในเอเชียอาคเนย แบงกลุมชาติพันธุเปนสามกลุม ไดแก กลุมเรรอน
กลุมตั้งถิ่นฐานกึ่งถาวร (ไดแก ชาวเขาตางๆ) และกลุมรัฐประเทศ ทั้งนี้มิติหนึ่งในการพิจารณาก็คือ
ลักษณะทางเศรษฐกิจ การเพาะปลูกตามลักษณะของการตั้งถิ่นฐาน กลุมเรรอนจะลาสัตวหาของปา
กลุมชาวเขาจะเลี้ยงสัตว คาขาย และทําไรเลื่อนลอย ยกเวนพวกฉานและคะฉิ่น
ซึ่งมีลักษณะที่กาวหนากวา โดยพิจารณาจาก รูปแบบการเกษตร ความซับซอนทางการปกครอง
และการรับพุทธศาสนา
ในทฤษฎีการแพรกระจายทางวัฒนธรรมนี้ เห็นวาคนจีนและอินเดียเปนผูอพยพเขามา
ทีหลังการแพรกระจายตัวของวัฒนธรรมหลัก (ในที่นี้หมายถึงไทยกับพมา) โดยคนเหลานี้เขามา
ประกอบอาชีพบางประการในสังคม อาทิ คนจีนมาคาขาย ตอมาพัฒนามาเปนนายอากรบอนเบี้ย
คนอินเดียมาคาขาย และมาเปนพราหมณ ในประเด็นเรื่องสังคมไทยนั้น นักมานุษยวิทยากระแสหลัก
ใหความเห็นถึงประเด็นความสอดคลองกันของมิติทางชาติพันธุในสามมิติไดแก
๑. กลุมชาติพันธุ (ethnic group) คือ กลุมคนที่มีวัฒนธรรมเดียวกัน รวมถึงการสืบ
เชื้อสายเดียวกัน
๒. กลุมเชื้อชาติ (racial group) คือ กลุมคนที่มีลักษณะทางกายภาพคลายกัน อาทิ
นีกรอยด มองโกลอยด คอเคซอยด
๓. กลุมสัญชาติ (national group) คือ กลุมคนที่เปนสมาชิกของประเทศนั้นๆ
นักมานุษยวิทยากระแสหลักไดใหทัศนะวาตัวแปรทางศาสนามักเปนตัวแปรที่สําคัญที่กอ
ใหเกิดความขัดแยงทางชาติพันธุ แนวคิดในเรื่องการเขากันไดระหวางชนกลุมนอยกับชนกลุมใหญนั้น
อาจรวมเรียกวา การผสมกลมกลืนทางวัฒนธรรม (assimilation) การปรับรับวัฒนธรรม (acculturation)
บูรณาการทางวัฒนธรรม (integration) หรือ การรวมกันเปนพหุสังคม (pluralism) ขณะที่หากเกิด
การเขากันไมได ชนกลุมนอยก็อาจแยกออกไปเปน กลุมแบงแยกดินแดน (separatist group) หรือ