Page 73 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 73

๖๔




                          ๗.  ผลกระทบที่ตามมากับความสัมพันธกับประเทศเพื่อนบาน โดยเฉพาะกรณีจีนฮอ
              ซึ่งอาจสรางความเคลือบแคลงแกรัฐบาลพมาวารัฐบาลไทยใหการสนับสนุนชนกลุมนอย (??? แสดงวา

              รัฐบาลไทยปฏิเสธมาโดยตลอดวาไมเคยสนับสนุนชนกลุมนอย และไมมีการพูดถึงกะเหรี่ยง)
                          ๘.  ความสงบเรียบรอยทางการปกครอง อาทิ จีนฮอเก็บภาษีเถื่อนและเรียกคาคุมครอง

              ในหมูชาวเขา การสูรบกับพมานําไปสูความเสียหายบริเวณชายแดน รวมไปถึงกรณีชาวญวนอพยพ
                          ๙.  ปญหาการแบงแยกดินแดน โดยเฉพาะชาวไทยมุสลิมบางสวน ที่ทําการปลุกระดม

              ใหเกิดความรูสึกเปนปฏิปกษกับรัฐบาล


              ¹âºÒÂáÅÐÁÒμáÒÃ㹡ÒÃᡌ䢻˜ÞËÒª¹¡ÅØ‹Á¹ŒÍ¡Ѻ¤ÇÒÁÁÑ蹤§¢Í§ªÒμÔ

                          รัฐบาลไทยเนนการแกปญหาแบบผสมกลมกลืน โดยใหชนกลุมนอยผสมกลมกลืน

              กับชนกลุมใหญผานกระบวนการกลอมเกลาทางสังคม โดยทําใหชนกลุมนอยคอยๆ เปลี่ยนวิถีชีวิต
              ความรูสึกนึกคิด ขนบธรรมเนียมประเพณีของตนใหกลมกลืนและสอดคลองกับวัฒนธรรมของ

              ชนกลุมใหญจนในที่สุดชนกลุมนอยจะไมมีเอกลักษณเปนของตนเอง

                          นอกจากนี้แลว เราจะเห็นถึงความซับซอนในเรื่องของการเคลื่อนตัวของนโยบาย
              การจัดการเรื่องชาติพันธุที่ซับซอนขึ้น จากเรื่องของชนกลุมนอย มาสูเรื่องของผูลี้ภัย มาถึงเรื่อง
              ของแรงงานตางดาว ซึ่งในความเปนจริงเราอาจจะพบวาการทํางานของวิธีคิดและการปฏิบัติตอ

              กลุมชาติพันธุนั้นมีการผสมผสานเรื่องเหลานี้เขาดวยกันมากกวาการแบงยุคสมัยที่ชัดเจนก็เปนได

                          อคติทางชาติพันธุ (ethnocentric) หมายถึง การประเมินคุณคาของสังคม วัฒนธรรมอื่นๆ
              โดยใชตัวเราเองหรือสังคมวัฒนธรรมของเราเองเปนมาตรฐาน เชน มองวัฒนธรรมอื่นวาตํ่ากวา

              นารังเกียจ
                          อคติทางชาติพันธุยังเกี่ยวพันกับเรื่องของความสัมพันธระหวางเชื้อชาติ (race relations)

              ที่เปนเรื่องเกี่ยวกับขอแตกตางของลักษณะทางชีวภาพ และเกิดจากการกีดกัน ความลําเอียง และเลือก
              ปฏิบัติ ประเด็นสําคัญก็คือกลุมที่ถูกเลือกปฏิบัติ (เชน ผิวดํา) กลายเปนผูดอยโอกาส และไมสามารถ

              ปรับปรุงตัวเองใหดีขึ้นได กลุมดอยโอกาสจึงเปนกลุมดอยโอกาสตลอดไป
                          แนวคิดเรื่องชาติพันธุยังมีผูอธิบายเพิ่มเติมอีกวา มีประโยชนกวาแนวคิดเรื่องเชื้อชาติ

              และสิ่งสําคัญนั้นมิไดอยูที่เรื่องของการคนหาความเปนจริงเบื้องหลังวาลักษณะเฉพาะของแตละกลุม
              ชาติพันธุนั้นอยูที่ไหน หากแตสิ่งที่ควรสนใจก็คือกลุมชาติพันธุนั้นไมเคยดํารงอยูโดยไมสัมพันธกับ

              กลุมชาติพันธุอื่นๆ ดังนั้นสิ่งที่สําคัญจึงอาจมิไดอยูที่การจดบันทึกชาติพันธุวรรณา หากแตอยูที่เรื่อง
              ของความสัมพันธระหวางกลุม ซึ่งแตละกลุมนั้นจะรูสึกวากลุมตนนั้นมีลักษณะเฉพาะ ขณะเดียวกัน

              กลุมแตละกลุมนั้นก็อาจมีสถานภาพทางสังคมที่ไมไดอยูในระนาบเดียวกันก็อาจเปนได (สวนสําคัญ
              ที่มักจะมีในปจจัยรวมทางวัฒนธรรม ไดแก ความเชื่อวากลุมของตนมีที่มาและบรรพบุรุษรวมกัน)

              และขณะเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงการอางอิงตัวเองกับกลุมชาติพันธุนั้นก็เกิดขึ้นได และทําใหเรื่อง
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78