Page 75 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 75

๖๖




              เหลานี้เอาไว ซึ่งเมื่อเราศึกษาถึงแนวคิดเรื่องอคติ และการเลือกปฏิบัติทางสีผิว (racism) และทฤษฎี
              ที่วาดวยความขัดแยง เราจะเขาใจประเด็นดังกลาวนี้ไดชัดเจนขึ้น

                              เรื่องของอคติทางสีผิว (racism) ซึ่งจะทําใหเรามองมิติในเรื่องความสัมพันธระหวางผูคน
              ทั้งทางวัฒนธรรมและการเมืองเศรษฐกิจ ในสวนของความขัดแยงไดอีกมุมหนึ่ง เพราะการพิจารณา

              เรื่องอคติสีผิวนั้น ใหความสําคัญกับการพิจารณาวา สังคมใหญนั้นมีทาทีและปฏิบัติตอกลุมชาติพันธุ
              อยางไร ซึ่งในประเด็นนี้แตกตางไปจากการศึกษากลุมชาติพันธุในแบบกระแสหลักที่สนใจอธิบายลักษณะ

              เฉพาะของแตละกลุมชาติพันธุ และความสัมพันธระหวางกัน และสนใจวากลุมเหลานั้นจะอยูรวมหรือ
              ผสมกลมกลืนกับชนกลุมใหญไดอยางไร

                          ªØ´¤ÇÒÁ¤Ô´·ÕèÊíÒ¤ÑÞ·Õèà¡ÕèÂÇ⧡ѺͤμÔ·Ò§ÊÕ¼ÔÇ¡ç¤×ͤíÒÇ‹Ò “ͤμÔ” (prejudice) ซึ่งเนน
              เรื่องของความเชื่อ และความคิดที่มีการเรียนรูถายทอดกันมาของกลุมคนหรือบุคคล ที่มีตอสมาชิกของ

              กลุมหนึ่งๆ ขณะที่ “การเลือกปฏิบัติ” (discrimination) เปนเรื่องของการกระทํา ทั้งนี้ทั้งอคติและการ
              เลือกปฏิบัตินั้นวางอยูบนฐานของ stereotypes หรือความเขาใจแบบเหมารวมที่มีตอกลุมคน (อาทิ

              ในตําราฝรั่ง คนตัวสั้นจะเปนคนที่ชอบใชความรุนแรง หรือผูหญิงเปนเพศที่ออนแอ) และเมื่อความคิด

              เหมารวมนั้นสงผลทางลบความคิดเหมารวมนั้นจะกลายเปนอคติ และจะสงผลตอการเลือกปฏิบัติ และ
              บุคคลที่มีอคติและเลือกปฏิบัติก็ถูกเรียกวา racist
                          เมื่อเรามองเรื่องของชาติพันธุและสีผิว เราจะพบวาเรื่องของชาติพันธุนั้นใหความสนใจ

              ในเรื่องของวัฒนธรรมมากกวาเรื่องของอคติและการเลือกปฏิบัติในเรื่องสีผิวซึ่งสนใจกระบวนการของ

              ความสัมพันธทางอํานาจที่กระทําตอตัวคนมากกวา
                          ในยุคแรกการใหคํานิยามในเรื่องของอคติ และการเลือกปฏิบัติในเรื่องสีผิวนั้นเปนการ

              ทาทายตอแนวคิดในเรื่องของความเชื่อทางวิทยาศาสตร (เชื้อชาติ) ที่เชื่อวามนุษยนั้นมีความตางกัน
              ดังจะเห็นในคํานิยามของ UNESCO หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ขณะที่ในยุคตอมานักสังคมวิทยา อาทิ

              นักสังคมวิทยาจากอังกฤษ Rex เห็นวาความสําคัญนั้นอยูที่ระบบความคิดแบบยึดมั่นที่เกี่ยวเนื่องกับ
              ความแตกตางระหวางกลุมชาติพันธุ ซึ่งเห็นวามีปจจัยที่อยูเหนือการควบคุมของคนหรือกลุมเหลานั้น

              และไมสามารถเปลี่ยนแปลง (อาทิ สีผิว หรือ ลักษณะทางกายภาพอื่นๆ)
                          อคติและการเลือกปฏิบัติทางสีผิวนั้นอาจเกิดขึ้นทั้งในระดับของความคิดความเชื่อและใน

              ระดับของการกระทําที่สืบทอดตอกันมา ซึ่งรวมไปถึงรูปแบบของระบบกฎหมายและระบบเศรษฐกิจ
              บางลักษณะที่เกิดขึ้นรองรับอคติและการเลือกปฏิบัติทางสีผิวเหลานั้น (institutional racism)

              ซึ่งไดแก อคติและการเลือกปฏิบัติในเรื่องสีผิวในสหรัฐอเมริกา ซึ่งการอธิบายในประเด็นของอคติและ
              การเลือกปฏิบัติทางสีผิวในขั้นสถาบันนี้ทําใหเราเขาใจไดวา racism นั้นอาจจะไมไดปฏิบัติการใน

              ระดับของจิตสํานึกของ racist ในความหมายที่วา racism นั้นอาจเกิดขึ้นในระดับของสิ่งที่ไมไดคิด
              อยางมีจิตสํานึกก็ได (อาทิในระดับของความเชื่อที่วาสิ่งที่ตนคิดและเขาใจนั้นเปนเรื่องปรกติอยูแลว)
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80