Page 76 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 76
๖๗
อาทิ กฎระเบียบในการขอเชาบานในอังกฤษที่จะใหสิทธิกับผูที่อยูในพื้นที่นั้นนานที่สุด ขณะที่บรรดา
ผูอพยพนั้นมักจะเปนผูที่เขาใหม
ตัวอยางอื่นๆ ที่นาสนใจเห็นจะเปนเรื่องของอคติและการเลือกปฏิบัติทางสีผิวที่มาพรอม
กับสื่อตางๆ อาทิ เรื่องของการนําเสนอความเปนอังกฤษผานภาพหมูบานอังกฤษและคนผิวขาว ทั้งที่
ความเปนอังกฤษอาจจะสามารถสื่อไดถึงเรื่องอื่นๆ เชนเดียวกับการพูดถึงความเปนไทยที่มักพูดถึงความ
เปนไทยภาคกลาง หรือศาสนาพุทธ ทั้งนี้รวมไปถึงสื่อมวลชนที่นําเสนอขาวการเพิ่มขึ้นของประชากร
ในหลายพื้นที่ที่มีลักษณะสีผิว และลักษณะทางชาติพันธุ(ที่สังเกตไดดวยตา หรือดวยภาษาที่ใช) เปนตน
ตัวอยางที่พอจะยกขึ้นมาพูดไดก็คือ วิธีคิดในเรื่องของการเมืองเชิงชาติพันธุในพมา
ที่พยายามสรางภาพของประเทศแหงความหลากหลายทางวัฒนธรรมในกิจกรรม และพิธีกรรมของรัฐ
หลายอยาง อาทิ การรําฟอน แตในขณะเดียวกันนั้นในความเปนจริงก็ยังมีการกดขี่ขมเหงทางชาติพันธุ
อยูเปนจํานวนมากดังที่ไดเห็นในรายงานหลายฉบับ ตัวอยางที่นาสนใจของไทยก็คือการมีทัศนคติ
กับชาวเขาในแบบที่นําเสนอวาชาวเขาไดพัฒนาแลว โดยเห็นวาชาวเขานั้นพัฒนาขึ้นมาดวยเทคโนโลยี
ตะวันตก เปนตน
เครื่องมือในการทําความเขาใจกลุมชาติพันธุ (โดยเฉพาะการกอรูปและความขัดแยง
ระหวางกัน) กับเรื่องของอคติและการเลือกปฏิบัติทางสีผิวทําใหเรามีความเขาใจในเรื่องของความละเอียด
และซับซอนของความสัมพันธทางอํานาจที่เกิดขึ้นจากความคิดความเชื่อรูปแบบของเทคโนโลยีทาง
อํานาจนานัปการที่กระทําตอบุคคลและกลุมคนในสังคมที่แตกตางกันไป โดยเฉพาะเมื่อความคิด
ความเชื่อเหลานั้นถูกผูกติดกับการมองดวยตา
ทฤษฎีเรื่องอคติและการเลือกปฏิบัติทางสีผิวนั้นในยุคใหมไดรับการอธิบายในเบื้องตนวา
เปนปรากฏการณใหมในสังคม เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมและอาณานิคม racism จึงเปนเครื่องมือในการ
สรางความชอบธรรมในการขูดรีดในยุคอาณานิคม โดยเฉพาะกับคนงานอพยพ ราวกับเปนโครงสราง
สวนบนในวิธีคิดแบบมารกซิสม อยางไรก็ดีแนวคิดมารกซิสมรุนใหม อาทิ สํานักวัฒนธรรมศึกษา
แหงเมืองเบอรมิงแฮมนั้นเห็นวา แนวคิดเรื่องของ racism นั้นไมใชเรื่องที่ถูกกําหนดอยางตายตัวมา
จากระบบทุนนิยมและอาณานิคม หากแตมีพัฒนาการที่มาจากการตอสูและตอรองจากกลุมผูที่ถูก
กระทําใน racism ดวย แมวาอิทธิพลทางเศรษฐกิจนั้นจะเปนปจจัยอันทรงพลังเบื้องหลังอคติและ
การเลือกปฏิบัติทางสีผิวก็ตาม และก็พูดถึง new racism ที่อาจจะไมไดเนนเรื่องของลักษณะทาง
วิทยาศาสตร-ชีวภาพ หากแตเปนเรื่องของลักษณะของวัฒนธรรมที่แตกตางกัน แตก็พวงมาดวยความ
เขาใจเศรษฐกิจการเมืองของปรากฏการณ racism ดังกลาว ดังจะเห็นในชวงทศวรรษที่ ๘๐ ในอังกฤษ
ที่มีการนําเสนอภาพของอคติและการเลือกปฏิบัติใหมที่ดึงเอาคนผิวขาวในชนชั้นกรรมาชีพไปเปนพวก
ในนามของความเปนชาติ (ลองพิจารณาประเด็นนี้รวมกับโฆษณาคาราบาวแดงที่พูดถึงนักสูผูยิ่งใหญ
เปนตน) และในแงนี้ new racism จะเกี่ยวของกับเรื่องของการอพยพยายถิ่นมากกวาเรื่องของอาณานิคม
และแนวคิดความแตกตางทางชีวภาพ และในขณะเดียวกันอคติและการเลือกปฏิบัติในปจจุบันนั้นก็จะ