Page 77 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 77

๖๘




              เนนเรื่องความแตกตางมากกวาเรื่องของความตํ่าตอย โดยเปนเรื่องของความแตกตางระหวางกลุม
              วัฒนธรรม อาทิ พวกคนอพยพผิวดําจากแคริเบียนก็ถูกมองโดยคนอังกฤษวาเปนพวกที่ครอบครัว

              แตกแยกไมสามารถสรางครอบครัวได ขณะที่พวกที่มาจากเอเชียก็จะเปนพวกครอบครัวขยายซึ่งทําให
              เกิดการเพิ่มขึ้นของประชากร ดังนั้นการมีสัญชาติอังกฤษจึงไมพอ และสิ่งที่จะตองมีก็คือวิธีคิดในแบบ

              อังกฤษ (จะเห็นวา new racism นั้นเกี่ยวพันกับแนวคิดเรื่องชาติพันธุและอคติทางชาติพันธุ แตเปน
              เรื่องที่เกิดขึ้นในสังคมเมือง-สังคมสมัยใหม)

                          ในทัศนะของพวกมารกซิสมใหม new racism นั้นเกิดมาจากการตอบสนองตอวิกฤติ
              ในสังคมอังกฤษที่เกี่ยวของกับเรื่องของการวางงาน จํานวนอาชญากรที่เพิ่มขึ้น และการลมสลายของ

              ครอบครัว ซึ่งชนกลุมนอยที่เขามาอยูในสังคมนั้นมักจะเปนแพะ-เหยื่อที่งายที่สุดสําหรับการอางถึง
              แตอยางไรก็ตามการเกิดขึ้นของ new racism นั้นมิไดเกิดขึ้นอยางทันที-อัตโนมัติจากการเปลี่ยนแปลง

              ทางเศรษฐกิจ หากแตเกิดขึ้นไดจากการใชองคประกอบบางประการของ racism ในแบบเกา โดยเฉพาะ
              อยางยิ่งตองทําหนาที่ผนึกประสานชนชั้นกรรมาชีพผิวขาวไวใหได นอกจากนี้แลว new racism ยังให

              ความสําคัญการอธิบายวาใครควรจะเปนสมาชิกอันชอบธรรมของสังคมบาง โดยประเด็นที่สําคัญก็คือ

              ความแตกตางไมเปนเนื้อเดียวนั้น
                          แนวโนมในสังคมปจจุบันมีการกอตัวของการตอตานชาวอิสลามอยางบาคลั่ง
              (lslamophobia) โดยมองวาอิสลามนั้นเปนศาสนาที่เปนหนึ่งเดียว ไมมีการเปลี่ยนแปลง ไมมีการปรับตัว

              และแยกขาดจากศาสนาอื่นๆ ตํ่าตอย ไมมีอารยธรรม เต็มไปดวยความรุนแรงและกดขี่ทางเพศ

              รวมทั้งเชื่อวาการมีอคติกับอิสลามนั้นเปนเรื่องธรรมชาติ
                          ในบางครั้งเราอาจจะตองพิจารณาใหมวาคนที่ถูกกระทําโดย racism นั้นไมใชเหยื่อของ

              ระบบ หากแตเขาอาจจะตองคิดคนและสวมอัตลักษณบางอยางในการตอสู อาทิ ในกรณีของเพลงแรป
              และการแตงตัว หรือในกรณีของไทยเราจะพบความเปลี่ยนแปลงในการตอสูของบรรดากะเหรี่ยงที่

              เรียกตนเองวาปกาญอ หรือแมวเปนมง เปนตน โดยในประเด็นดังกลาวนี้กอรูปของอคติและการเลือก
              ปฏิบัติทางสีผิวนั้นไมใชเรื่องของชีวภาพ (เชื้อชาติ) และวัฒนธรรมที่แตกตางจากกลุมอื่น  (ชาติพันธุ)

              แตเปนเรื่องกระบวนการที่ตอเนื่องและไมไดมีการกําหนดไวลวงหนาอยางตายตัว ซึ่งแตกตางกันไป
              ตามกาลเทศะ ทั้งนี้แตละกลุมจะรวมตัวเองและใหคํานิยามตัวเองผานสี-กลุม และการตอสูของบรรดา

              คนผิวสีที่จะมีที่ยืนและไดรับการยอมรับนั้นก็ไมควรถูกลดทอนลงเปนเรื่องของชนชั้น และทั้งนี้
              ควรพิจารณาในเรื่องของการคลุมผาญิฮาบของผูหญิงมุสลิมในปจจุบันดวย

                          เรื่องที่นาสนใจประการตอมาคือแนวคิดที่เรียกวา Orientalism หรือการประกอบสราง
              ความเปนตะวันออก ซึ่ง Said เสนอวา เปนเรื่องของกระบวนการสรางความเปนอื่นเพื่อใหเกิดตัว

              ของเราขึ้น และเขาใจตัวเรา (อาทิ เรื่องของการบอกวาประเทศเรา หรือชาวไทยดีกวาคนอื่น หรือ
              “ไมทํา”) อยางที่คนอื่นทํา ผานการเขียนถึง เลาเรื่องของคนอื่น สิ่งนี้สะทอนใหเห็นถึงความสัมพันธ

              ทางอํานาจ ซึ่งทําใหโลกตะวันตกสามารถสถาปนาอํานาจตอโลกสวนอื่นๆ ไดตอไป โดยเฉพาะความเชื่อ
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82