Page 74 - สังคม เศรษฐกิจ การเมืองไทย
P. 74

๖๕




                 ของชาติพันธุนั้นเกี่ยวของกับการเมืองเรื่องอัตลักษณ (identity politics) ซึ่งเปนฐานไปสูการเมือง
                 เรื่องของความแตกตาง ที่มิไดเนนเรื่องการผสมกลมกลืน แตเนนเรื่องการรับรองความแตกตางในสังคม

                             ในโลกปจจุบัน ความขัดแยงเชิงชาติพันธุในระดับโลกและในระดับประเทศนั้นมีขึ้น
                 ในหลายพื้นที่ รวมไปถึงพื้นที่ที่เปลี่ยนผานจากคอมมิวนิสตมาสูโลกเสรี หรือพื้นที่ในโลกกําลังพัฒนา

                 นักคิดบางคนเชื่อวาการเขาสูประชาธิปไตยโดยไมมีระบบการจัดการความสัมพันธทางชาติพันธุที่ดีนั้น
                 อาจนําไปสูปญหาความขัดแยงและความรุนแรงทางชาติพันธุได

                             ความเขาใจในเรื่องของการรวมกลุมทางชาติพันธุอาจจะไมใชคําตอบโดยตรงกับความเขาใจ
                 ในเรื่องของความขัดแยงทางชาติพันธุ (ethnic conflict) ซึ่งมีผูอธิบายวามีอยูดวยกัน ๓ รูปลักษณะ

                             ๑.  คําอธิบายเชิงระบบ (systemic): มองวาความขัดแยงทางชาติพันธุเปนผลจากลักษณะ
                 ธรรมชาติของระบบความมั่นคงปลอดภัยที่กลุมชาติพันธุเหลานั้นมีชีวิตอยู ซึ่งในแงนี้ ความขัดแยง

                 จะไมเกิดขึ้นถาอํานาจรัฐสามารถควบคุมกลุมตอตานได และนอกจากนี้ยังรวมไปถึงความเชื่อที่วา
                 ความรุนแรงนั้นอาจเกิดขึ้นไดถากลุมบางกลุมเชื่อวาจะมีความมั่นคงมากกวาถาโจมตีกลุมอื่นกอน

                 นอกจากนี้แลว การลมสลายของระบบรัฐเดิม อาทิ โซเวียตก็เปนอีกเหตุผลหนึ่งที่ทําใหแตละกลุม

                 ชาติพันธุเริ่มสะสมอาวุธทางทหารเพิ่มมากขึ้นและมีผลตอความขัดแยงและทัศนคติ-ความคาดหวัง
                 ที่มีกับระบบการเมือง
                             ๒.  คําอธิบายเชิงระบบภายในประเทศ (domestic) : ซึ่งใหความสําคัญกับเรื่องของ

                 ประสิทธิภาพของรัฐในการเขาใจปญหาของประชาชนของตนเอง ผลกระทบจากชาตินิยมที่มีตอ

                 ความสัมพันธระหวางกลุมชาติพันธุภายในประเทศ และผลกระทบจากกระบวนการสรางความเปน
                 ประชาธิปไตยที่มีตอความสัมพันธระหวางกลุมชาติพันธุ สิ่งที่ตามมาจากคําอธิบายนี้ก็คือบางครั้ง

                 ความรูสึกชาตินิยม และการเกิดประชาธิปไตย ก็นําไปสูความตื่นตัวของผูคนที่รูสึกวาตนขาดรัฐ
                 ที่เขมแข็งที่จะมาปกปองดูแลตนเอง

                             ๓.  คําอธิบายในเชิงการกอตัวของความขัดแยงที่มีขึ้นอยางตอเนื่อง (perpetual) :
                 ซึ่งเกี่ยวพันกับเรื่องของการรับรูและเขาใจซึ่งกันระหวางกลุมชาติพันธุ ซึ่งความไมเปนมิตรกันอาจเกิด

                 มาจากความเขาใจผิด หรือการรับรูประวัติศาสตรที่ผิดพลาด
                                 แนวคิดเรื่องชาติพันธุนั้นใหคุณประโยชนในการอธิบายความสัมพันธระหวางกลุมคน

                 โดยไมยึดติดกับความแตกตางทางรางกาย-กายภาพเชนเดียวกับแนวคิดเรื่องเชื้อชาติ และขณะ
                 เดียวกันก็ไมเชื่อวาความสงบทางสังคมจะเกิดขึ้นทามกลางแนวคิดในแบบการผสมกลมกลืน

                 ที่ชนกลุมนอยนั้นจะตองผสานตัวเองเขาสูวัฒนธรรมของชนกลุมใหญ แนวคิดเรื่องของความละเอียด
                 ออนในประเด็นชาติพันธุนี้เองที่นําไปสูความเขาใจในเรื่องการเมืองแหงความหลากหลายทางวัฒนธรรม

                 (multiculturalism) ที่เริ่มเขาใจชนกลุมนอยมากขึ้นวาเขามีชีวิตอยางไร มากกวามองวาคนเหลานี้
                 เปนเพียงเหยื่อของระบบแหงความเกลียดชัง แตทั้งนี้แนวคิดเรื่องกลุมชาติพันธุนั้นมักถูกวิจารณวาให

                 ความสําคัญกับมิติทางวัฒนธรรมของชนกลุมนอยมาก จนละเลยพลังอันมหาศาลที่กํากับชนกลุมนอย
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79