Page 148 - การหาข้อมูลทางการตลาด
P. 148
148
1 กําหนดช่วงเวลาในการเก็บข้อมูล เวลาถือเป็นเงื่อนไขประการหนึ่งที่สําคัญที่กําหนดช่วงเวลาใน
การเก็บข้อมูล เวลาถือเป็นเงื่อนไข ต้องกําหนดให้เหมาะสม และสะดวกแก่ผู้สัมภาษณ์และผู้ถูกสัมภาษณ์
2 การทดสอบแบบสอบถาม ควรมีการทดลองใช้แบบสอบ ามมั่นใจในแบบสอบถามว่าจะสามารถ
เข้าใจความหมาย ถ้อยคําในแบบสอบ องแท้หรือไม่ ตําตอบเป็นไปในทิศทางที่ควรจะเป็นหรือไม่
3 การฝึกอบรมพนักงานสัมภาษณ์ การออกสนามจะต้องใช้บุคลากร ระกอบกับความเต็มใจในการ
ทํางานอย่างจริงจัง โดยเฉพาะงานวิจัยในสาขาเฉพาะทาง างการตลาด จะมีรูปแบบและถ้อยคําที่แตกต่าง
ออกไปจากการวิจัยสาขาอื่นๆ
4. การเตรียมแบบสอบถามและอปกรณ์ที่จําเป็น จะต้องมีเครือข่ายเพอ? * * สะดวกในการออก
สนาม เช่น จดหมายนําหรือแนะนําตัว บัตรประจําตัว แผนที่ แบบฟอร์มควบคุมงาน เหล่านี้ล้วนมีผลต่อ
ความสําเร็จของการใช้แบบสอบถาม
ตัวอย่าง การสํารวจข้อมูลภาคสนาม
“ความคุ้มค่า” ค าตอบแรกของนักช็อปชาวไทย ผลการส ารวจออนไลน์ของผู้บริโภค 47 ประเทศ
จากนีลเส็น ผู้น าด้านการวิจัยทางการตลาดและ ข้อมูลชั้นน าของโลก พบว่าผู้บริโภคชาวไทยกว่า 80%
จัดล าดับ “ความคุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป” ว่าเป็นปัจจัย ส าคัญที่สุดในการพิจารณาเลือกสถานที่ใช้จ่ายใช้
กับสินค้าอุปโภค บริโภค โดยสูงกว่าระดับค่าเฉลี่ยของโลก
จากผลการส ารวจของนีลเส้นพบว่าบริโภค โดยถือว่ามีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกมากกว่า
ปัจจัย อื่นๆ เช่น “เป็นที่ที่มีความหลากหลายของสินค้าที่มี คุณภาพสูง” หรือ “เป็นที่ที่อยู่ใกล้ที่สุด”
รวมถึง “เป็นที่ ที่ใช้ถุงและบรรจุภัณฑ์รีไซเคิล” นอกจาก “ความคุ้มค่า” ปัจจัยรองลงมาในการเลือก
ร้านค้าฯ คือ เป็น “ที่ที่ใกล้ กับที่อยู่ของตนมากที่สุด” และ “มีที่จอดรถสะดวก สบาย” 66% รองลงมา
คือ “เป็นที่ที่มีสินค้าและแบรนด์ มีคุณภาพสูงให้เลือกมากกว่าที่อื่น” 57% และสุดท้าย “เป็นที่ที่ใช้ถุง
และบรรจุภัณฑ์รีไซเคิล” 29%
กรรมการผู้จัดการ นีลเส็น (ประเทศไทย) กล่าว ว่า “ผลการวิจัยน าเสนอภาพรวมของลักษณะ
นิสัยและ แรงจูงใจที่อยู่เบื้องหลังพฤติกรรมการซื้อสินค้าอุปโภค บริโภคของผู้บริโภคทั่วโลก ผู้บริโภคแต่
ละประเทศ และแต่ละทวีปมีความต้องการจากกลุ่มผู้ค้าปลีกที่แตกต่างกัน และเนื่องจากธุรกิจค้าปลีกใน
ปัจจุบันมีการ รวมกันเป็นหนึ่งและเป็นสากลมากขึ้น จึงจ าเป็นที่จะเข้าใจความชอบของผู้บริโภคที่
แตกต่างกันในแต่ละตลาด”