Page 213 - งานจักรยานยนต์
P. 213

210





                  13.2.2 ระบบกันสะเทือนแบบตะเกียบหน้ำ

                          ระบบกันสะเทือนแบบตะเกียบหน้า จ าแนกเป็นแบบตะเกียบหน้าหรือเรียกว่า

                  แบบเทเลสโคปิค (Telescopic) ต่อล่าง (Bottom Link)

                  1. คุณลักษณะแบบตะเกียบหน้ำ

                          ระบบกันสะเทือนหน้าแบบตะเกียบหน้าติดตั้งติดกับล้อหน้าและโครงรถ

                  รองรับแรงกระแทก ท่อหลัก จากล้อโดยตรงด้วยการหดตัวและยืดตัวของโช้คอัพหน้า
                  มีความแข็งแรงมากในการรับแรงในแนวดิ่งมีช่วงชักยาว และการเปลี่ยนแปลงระยะ

                  เทรลใน ปลอกสปริงระหว่างการท างานน้อยมาก ท าให้ควบคุมรถได้ง่ายและ

                  สะดวกสบาย เพิ่มความปลอดภัยให้ผู้ขับขี่ แผ่นกันโคลงเป็นชนิดที่รองรับแรงกระแทก

                  ได้สมบูรณ์แบบ ลูกยางที่สุดนอกจากนี้ยังมีสปริงประกอบอยู่ด้วย นิยม สปริงใช้ใน

                  จักรยานยนต์ขนาดเล็ก โช้คอัพหน้าที่ใช้แบ่งออกเป็น 2 แบบตามลักษณะภายใน คือ

                  ชนิดลูกสูบ ท่อน าโลหะและชนิดมีวาล์วอิสระ

                  2. โช้คอัพหน้ำแบบลูกสูบโลหะ (Piston Metal Type)

                          โช้คอัพหน้าแบบลูกสูบโลหะ มีห้องสลาย แรงสั่นสะเทือน (Damper

                  Chamber) อยู่ระหว่าง ปลอกโช้คอัพ (Outer Tube) และแกนโช้คอัพด้านใน (Inner
                  Tube) เพื่อช่วยในการผ่อนแรง ไม่มีข้อจ ากัด มุมรับแรงและในด้านการออกแบบ

                  ปลอกโช้คอัพ ด้านนอกมีขนาดใหญ่ และมีขนาดระยะชักประมาณ 150 มม. เนื่องจาก

                  การออกแบบระยะชักแบบนี้ จึง เหมาะกับรถรุ่นที่รับภาระการเบรกน้อย นิยมใช้ กัน

                  มากในรถรุ่นแบบใช้งานทั่วไป ไม่นิยมใช้กับ รถแบบสปอร์ต

                  3. โช้คอัพหน้ำแบบวำล์วอิสระ (Floating Valve Type)

                          แบบวาล์วอิสระ เป็นแบบที่นิยม ใช้กันมากที่สุดของโช้คอัพหน้าแบบตะเกียบ

                  หน้า ประกอบด้วยห้องสลายแรงหนึ่งห้อง ท าหน้าที่แบ่งเบาแรงที่ต าแหน่งระหว่างแกน

                  โช้คอัพด้านใน ช่วยในการแบ่งเบาแรงได้ มากกว่าชนิดลูกสูบโลหะ และรับแรงในแนว

                  ขึ้น-ลงได้ดีที่สุด เพราะมีระยะชักที่ ปลอกโช้คอัพ ยาวกว่า โดยปกติจะมีโลหะสอด
                  ระหว่างชิ้นส่วนที่เลื่อนได้ของท่อด้านในและท่อ ด้านนอก ร่วมกับการลดพื้นที่

                  หน้าสัมผัส และท าให้เกิดแรงต้าน แรงเสียดทานน้อยลง
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218