Page 96 - งานจักรยานยนต์
P. 96
92
หน่วยที่ 6 การตรวจซ่อมระบบหล่อลื่น และระบายความร้อน
บทน า
เครื่องยนต์จักรยานยนต์ประกอบด้วยชิ นส่วนโลหะที่เคลื่อนไหวอยู่มากมาย ซึ่ง
แต่ละชิ นส่วน จะประกอบกันอยู่ด้วยระยะห่างหล่อลื่นจ้ากัด (Clearance) เมื่อ
เครื่องยนต์เริ่มต้นหมุน ความฝืดระหว่างชิ นส่วนท้าให้เกิดการสูญเสียก้าลังงาน สึกหรอ
รวมทั งการยึดติดของชิ นส่วน เพราะความร้อนจากการเสียดสี ดังนั น จึงต้องส่ง
น ้ามันเครื่องไปหล่อลื่น
การเพิ่มความเร็วของการเคลื่อนที่ ระหว่างพื นผิวชิ นส่วนที่สัมผัสกัน จะท้าให้
เกิดความผิด เพิ่มขึ น ชิ นส่วนเครื่องยนต์มีการเคลื่อนที่หลายส่วนด้วยกัน จึงต้องมีการ
หล่อลื่นเพื่อลดความฝืดและ ลดการสึกหรอการระบายความร้อนจักรยานยนต์แต่เดิม
ระบายความร้อนด้วยอากาศ ช่วงหลังมีการระบาย ความร้อนด้วยน ้า รถรุ่นหนึ่งจะใช้
ระบบระบายความร้อนเพียงระบบเดียวเท่านั น ระบบระบายความร้อน ด้วยอากาศง่าย
ต่อการบ้ารุงรักษา แต่เมื่อเทียบประสิทธิภาพการระบายความร้อนและการรักษา
อุณหภูมิ ของเครื่องยนต์ให้คงที่ตลอดเวลา สู้ระบบระบายความร้อนด้วยน ้าไม่ได้
จักรยานยนต์รุ่นใหม่น้าระบบ ระบายความร้อนทั ง 2 ระบบมาท้างานประสานกัน ซึ่งให้
ประสิทธิภาพในการระบายความร้อนได้ดี และ มีขนาดกะทัดรัดเหมาะกับจักรยานยนต์
ขนาดเล็ก โดยแบ่งการระบายความร้อนออกเป็น 2 ส่วน ดังนี
ส่วนที่ 1 ความร้อนบริเวณห้องเผาไหม้ จะใช้การระบายความร้อนด้วยน ้า ที่ฝา
สูบมีโพรง ส้าหรับเป็นช่องทางให้น ้าหล่อเย็นไหลเข้าไประบายความร้อน มีพัดลมดูด
อากาศให้ไหลผ่านหม้อน ้า เพื่อระบายความร้อนออกจากหม้อน ้าอีกทอดหนึ่ง
ส่วนที่ 2 ความร้อนบริเวณกระบอกสูบ จะใช้ เครื่องยนต์การระบายความร้อน
ด้วย อากาศ ที่เสื อสูบต้องการ ระบายความร้อนน้อยกว่า บริเวณฝาสูบจึงใช้การระบาย
ความร้อนด้วยอากาศ โดยที่ เสื อสูบจะมีครีบระบายความ ร้อนอยู่โดยรอบ