Page 43 - คณิตศาสตร์และสถิติเพื่องานอาชีพ
P. 43
37
n(E) = 5
(2) E = {(5, 6), (6, 5), (6, 6)}
n(E) = 3
3. ในการโยนเหรียญ 3 เหรียญพร้อมกัน 1 ครั้ง จงหา
(1) เหตุการณ์ที่เหรียญออกหน้าเดียวกัน
(2) เหตุการณ์ที่เหรียญออกหัวอย่างน้อย 2 เหรียญ
วิธีทํา จาก S = {HHH, HHT, HTH, HTT, THH, THT, ITH, ITT}
(1) E = {HHH, ITT}
n(E) = 2
(2) E = {HHH, HHT, HTH, THH}
n(E) = 4
3.4 ความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
ถ้านักศึกษาต้องการทราบว่า โอกาสที่นักฟุตบอลคนหนึ่ง จะยิงลูกโทษเข้ามีเท่าไร
วิธีการนึง คือ การศึกษาข้อมูลเดิมของการยิงลูกจุดโทษ สมมติว่ายิงลูกจุดโทษ 100 ครั้ง
85
เข้า 85 ครั้ง และยิงไม่เข้า 15 ครั้ง อัตราส่วน หมายถึง โอกาสที่จะยิงลูกโทษเข้า
100
ในคราวต่อไป
อีกวิธีการหนึ่งในการหาความน่าจะเป็น คือ การหาอัตราส่วนระหว่างจํานวนสมาชิก
ของเหตุการณ์ ที่สนใจกับจํานวนแซมเปิลสเปซ โดยมีเงื่อนไขว่าสมาชิกในแซมเปิลสเปซ
นั้นทุกตัวมีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กัน เช่น การหยิบลูกบอล 10 ลูก ที่แต่ละลูกเขียนเลข
กํากับเป็น 0, 1, 9 ซึ่งแซมเปิลสเปซ คือ
S = {0, 1, 2 , 4, 5, 6, 7, 8, 9) ถ้าให้หยิบมา 1 ลูก โดยสนใจให้เกิดเหตุการณ์
เลขที่น้อยกว่า 4 คือ E= {0, 1, 2, 3)
4
ดังนั้นโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เลขน้อยกว่า 4 เท่ากับ
10
บทนิยาม
ให้ n(S) คือ จํานวนสมาชิกของแซมเปิลสเปซจากการทดลองสุ่ม และ n(E) คือ