Page 46 - คณิตศาสตร์และสถิติเพื่องานอาชีพ
P. 46
40
(1) เหรียญขึ้นหน้าเหมือนกันและลูกเต๋าออกเลขคู่
E = {HH2,HH4,HH6,TT2,TT4,TT6}, n(E) = 6
6
ดังนั้น P(E) =
24
6
ความน่าจะเป็นที่เหรียญขึ้นหน้าเหมือนกันและลูกเต๋าออกเลขคู่เท่ากับ
24
(2) เหรียญขึ้นหน้าต่างกันและลูกเต๋าออกเลขที่หารด้วย 3 ลงตัว
E = {Ht3, HT6, TH3, TH6}, n(E) = 4
4
ดังนั้น P(E) =
24
ความน่าจะเป็นที่เหรียญขึ้นหน้าต่างกันและลูกเต๋าออกเลขที่หารด้วย 3 ลงตัว เท่ากับ
4
24
จากตัวอย่างที่ได้นําเสนอไปแล้วนั้น การหาจํานวนสมาชิกของแซมเปิลสเปซและ
เหตุการณ์ E ใช้วิธีการแจกแจงสมาชิก แต่ในบางกรณีเราไม่สามารถแจกแจงสมาชิกได้
เพราะจํานวนสมาชิกมีจํานวนมาก กรณีดังกล่าวนี้ จึงจําเป็นต้องหาจํานวนสมาชิกของ
แซมเปิลสเปซ และ เหตุการณ์ E โดยไม่แจกแจงสมาชิก
ตัวอย่างที่ 3.4
1.จากตารางต่อไปนี้ จงหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์จากการสุ่มนักเรียน 1 คน
ชมรมดนตรี ชมรมกีฬา ชมรมภาษาไทย รวม
ปวช.1 50 60 40 150
ปวช.2 55 45 70 170
ปวช.3 25 35 30 90
รวม 130 140 140 410
(1) นักเรียนชมรมดนตรี
(2) นักเรียนชั้น ปวช.3
(3) นักเรียนชั้น ปวช.2 และเป็นสมาชิกชมรมกีฬา
(4) นักเรียนชั้น ปวช.1 หรือนักเรียนชมรมภาษาไทย