Page 14 - จราจร
P. 14

๗




                 ใหงานดานการจราจรทั้งการอํานวยความสะดวกดานการจราจรและการใหความปลอดภัยเกิดขึ้นบรรลุ
                 ผลสําเร็จจะตองใหบุคคลที่มีคุณสมบัติเฉพาะเปนกรณีพิเศษนอกเหนือจากมีความรู มีความสามารถ

                 มีความทรหดอดทนแลว จะตองเปนผูมี ¤Ø³¸ÃÃÁ¨ÃÔ¸ÃÃÁáÅШÃÃÂÒºÃóã¹ÇÔªÒªÕ¾  เปนกรอบ
                 ในการนําทางไปสูเปาหมายของการเปนตํารวจจราจรมืออาชีพดั่งวิสัยทัศนของสํานักงานตํารวจแหงชาติ

                 “໚¹ตําÃǨÁ×ÍÍÒªÕ¾ à¾×èͤÇÒÁ¼ÒÊØ¡¢Í§»ÃЪҪ¹”
                             “¨ÃÔ¸ÃÃÁ” คือ หลักการที่มนุษยในสังคมยึดถือปฏิบัติ เพื่อการอยูรวมกันอยางเปนสุข

                 ในสังคมและเมื่อนําไปใชกับการประกอบวิชาชีพ หรือการทํางานซึ่งเปนกิจกรรมที่มีความสําคัญ
                 ที่สุดอยางหนึ่งของมนุษย ก็ยอมหมายความวามนุษยยอมจะตองมีจริยธรรมในการทํางาน หรือการ

                 ประกอบวิชาชีพ เพราะในการทํางานมนุษยยอมตองมีสังคมซึ่งประกอบดวยคนหลายคน เนื่องจาก
                 ในวงการของการทํางานนั้นการทํางานคนเดียวยอมเปนไปไดยาก ดังนั้นจึงสมควรมีการวางกรอบให

                 มนุษยประพฤติปฏิบัติเพื่อการทํางานรวมกันอยางสงบสุข คําวา จริยธรรม มักจะใชคูกับคําวา คุณธรรม
                 เปน คุณธรรม จริยธรรม
                             “¤Ø³¸ÃÃÁ” หมายถึงคุณงามความดีที่สั่งสมอยูในจิตใจมนุษยโดยผานประสบการณ

                 จากการไดสัมผัสซึ่งจะแสดงออกมาโดยการกระทําทางกาย วาจาและจิตใจของแตละบุคคลเปนสิ่งที่มี
                 ประโยชนตอตนเอง ผูอื่นและสังคม คุณธรรมจึงเปนคุณสมบัติภายในใจใดๆ ก็ตามที่เปนคุณสมบัติ

                 ไมเปนโทษ สวนจริยธรรม หมายถึง สิ่งควรประพฤติอันไดแก พฤติกรรมเปนการกระทํา ทางกาย วาจา
                 ใจ อันดีงามที่ควรปฏิบัติ

                             ความแตกตางระหวางจริยธรรมกับคุณธรรม “จริยธรรม” หมายถึง ความประพฤติปฏิบัติ
                 ที่มีธรรมะเปนตัวกํากับ จริยธรรม ก็คือ ธรรมที่เปนไป ธรรมที่เปนขอประพฤติปฏิบัติศีลธรรม กฎศีลธรรม

                 “คุณธรรม” คือ นามธรรมอยางหนึ่งซึ่งเกี่ยวของกับจิตสํานึกของมนุษยที่ตระหนักถึงความผิดชอบชั่วดี
                 (พระเทวินทร เทวินโท, ๒๕๔๔)

                             “¨ÃÃÂÒºÃó” เปนหลักความประพฤติในการประกอบอาชีพที่กลุมบุคคลแตละสาขา
                 อาชีพประมวลจัดทําขึ้นไวเปนหลักเพื่อใหสมาชิกในสาขาวิชาชีพนั้นๆ ยึดถือปฏิบัติ เพื่อรักษาชื่อเสียง

                 ภาพพจนที่ดีขององคกร และสงเสริมเกียรติคุณของวิชาชีพของตน จึงถือเปนหัวใจสําคัญอยางหนึ่งของ
                 องคกรในปจจุบันเพราะถาบุคลากรในองคกรใดขาดในเรื่องนี้แลว โอกาสที่องคกรจะกาวหนาก็จะลด

                 แนนอน โอกาสลมเหลวก็จะมีมากขึ้น จรรยาบรรณจึงเปรียบเสมือนภูมิคุมกันการทุจริตใหกับองคกร
                 จรรยาบรรณ เปนประมวลความประพฤติที่ผูประกอบอาชีพการงานแตละอาชีพกําหนดขึ้นเพื่อรักษา

                 และสงเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเปนลายลักษณอักษรหรือไมก็ได สําหรับ
                 จริยธรรมเปนหลักประพฤติ มารยาท ที่ทุกคนเชื่อวาเปนสิ่งที่ถูกตองดีงามที่ผูรวมอาชีพควรจะรวมกัน
                 รักษาไวเพื่อธํารงเกียรติและศรัทธาจากประชาชน ซึ่งละเมียดละไมกวา กฎ ระเบียบลึกซึ้งกวาวินัย

                             งานตํารวจถือไดวาเปนวิชาชีพ (Profession) อยางหนึ่ง กลาวคือมีความชํานาญเฉพาะทาง

                 ในการใหบริการเกี่ยวกับความมั่นคงในการดํารงชีวิตแกประชาชน มีการเรียนรูความชํานาญ
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19