Page 11 - จราจร
P. 11

๔




                          ในลายพระหัตถกลาวอีกวา รถคันนี้มีกําลังวิ่งไดแคพื้นราบแตสะพานขามคลองในสมัย
              นั้นสูงมากขึ้นไมไหว เลยขายใหเจาพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) ซึ่งมีนองชาย คือ พระยา

              อานุทูตวาที (เข็ม แสง-ชูโต) ซึ่งเปนคนไทยคนแรกที่ไปรับจางทํางานในอังกฤษรูเรื่องเครื่องยนตกลไกดี
              เลยเปนคนแรกที่ขับรถในกรุงสยามดวยในป พ.ศ.๒๔๗๑ สมเด็จฯ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงจัดตั้ง

              “พิพิธภัณฑสถานสําหรับพระนคร” ขึ้น จึงขอรถคันนี้ไปเขาพิพิธภัณฑ และไดขอใหพระเจาลูกยาเธอ
              กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ทรงนําไปซอมที่กองลหุโทษ แตพระองคไดสิ้นพระชนมกอนที่รถจะซอมเสร็จ

              และเมื่อสมเด็จฯ กรมพระยาดํารงฯ ทรงตามไปที่กองลหุโทษก็พบแตเศษเหล็กชิ้นสวนรถคันแรกของ
              กรุงสยามถูกชําแหละไปเรียบรอย

                          สวนรถยนตคันแรกที่คนไทยนําเขามา ปรากฏหลักฐานอีกวา ในป พ.ศ.๒๔๔๔ กรมหลวง
              ราชบุรีดิเรกฤทธิ์ทรงประชวร เสด็จไปรักษาพระองคที่กรุงปารีส และไดสั่งซื้อรถเดมเลอร รุนป

              ค.ศ.๑๙๐๑ จากตัวแทนจําหนายที่ฝรั่งเศสและนําเขามากรุงเทพฯ ในปลายปนั้นนําขึ้นทูลเกลาฯ
              ถวายพระราชบิดา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาฯ โปรดรถพระที่นั่งคันนี้มาก เพราะสะดวกสบาย
              และเดินทางไดเร็วกวารถมา นับเปนรถยนตพระที่นั่งคันแรกในประวัติศาสตร ตอมาจึงโปรดเกลาฯ ใหกรมหลวง

              ราชบุรีฯ สั่งเขามาอีกคันหนึ่ง จากผูผลิตในเยอรมันโดยตรง รถพระที่นั่งคันใหมยี่หอเดิมแตไดเปลี่ยนชื่อ
              เปน “เมอรเซเดสเบนช” รุนป ค.ศ.๑๙๐๕ สีแดง เครื่องยนต ๗๒ แรงมา ๔ สูบ เดินหนา ๔ เกียร

              ถอยหลัง ๑ เกียร ความเร็ว ๔๖ ไมลตอชั่วโมง แตขณะเทนํ้ามันจากปบเติมรถไดเกิดไฟไหมเสียหายไป
              แถบหนึ่ง หลังจากซอมแลวจึงเขาประจําการเปนรถพระที่นั่งคันที่ ๒ พระราชทานนามวา “แกวจักรพรรดิ”


























                                               ÃҪö “á¡ŒÇ ¨Ñ¡Ã¾ÃôԔ
                              ที่มา : เรื่องเลาชาวเมืองสยาม http://storyofsiam.blogspot.com



                          ตอมารัชกาลที่ ๕ ไดโปรดเกลาฯ ใหกรมหมื่นราชบุรีดิเรกฤทธิ์สั่งรถเขามาเพื่อพระราชทาน

              แกเจานายและในรัชกาลที่ ๕ นี้เอง ไดมีการริเริ่มรถเมล หรือรถประจําทางขึ้น เจาของรถเมลคันแรก
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16