Page 8 - จราจร
P. 8

๑


                                                       º··Õè ñ



                                                        º··ÑèÇä»




                 ñ.ñ »ÃÐÇÑμÔ¤ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ¡ÒèÃҨà            ñ

                             การจราจร ถูกจัดใหเปนปญหาสังคมโดยเฉพาะในเมืองใหญ ไมวาจะเปนประเทศไทย
                 หรือตางประเทศ ตางก็ประสบปญหาดวยกันทั้งนั้นจึงกลาวไดวาปญหาการจราจรเปนผลอันเนื่อง

                 มาจากความเจริญกาวหนาทางวัตถุ และวิทยาการสมัยใหม
                             ผลจากความเจริญกาวหนาทางวัตถุ เริ่มตนตั้งแตประมาณป ค.ศ.๑๗๖๙ หรือป

                 พ.ศ.๒๓๑๒ แมทัพชาวฝรั่งเศสชื่อ นิโคลัส กูโน (Nicolas Gugnot) ไดคิดคนประดิษฐเครื่องจักรไอนํ้า
                 ซึ่งเปนสิ่งประดิษฐตนแบบเครื่องจักรที่ทันสมัย ตอมาในป ค.ศ.๑๘๖๔ นักประดิษฐไดคิดคนรถยนต

                 โดยอาศัยถานหินเปนเชื้อเพลิงแทนรถจักรไอนํ้า ตอมาป ค.ศ.๑๘๖๗ ไดพัฒนารถมาเปนรูปแบบ
                 เครื่องจักรขับเคลื่อนแบบสี่ลอ และในป ค.ศ.๑๘๘๕ ก็ไดปรับปรุงเปนเครื่องจักรแบบอาศัยนํ้ามันเชื้อเพลิง

                             ในป ค.ศ.๑๘๙๓ Duryia ไดประสบความสําเร็จในการใชแกสโซลีนในการขับเคลื่อนรถ
                 จนกระทั่งมีบริษัทรถยนตของเยอรมันเกิดขึ้น เชน บริษัทเบนซ (Benz)

                             ในป ค.ศ.๑๙๐๐ มีองคการบางองคการที่เกิดความสับสนเกี่ยวกับการใหความปลอดภัย
                 โดยอาศัยวัตถุตางๆ เพื่อควบคุมการจราจรในเมืองคอนเนตทิคัต (Connecticut) มีการออกกฎในการ
                 ขับขี่และจดทะเบียนรถ (Registration) นอกจากนี้เมืองมินนิโซตา (Minnesota) ก็ไดมีการออกกฎ

                 ในการขับขี่และจดทะเบียนรถเชนกันและมีการปรับ ๑๐ ดอลลาร กับผูกระทําผิด

                             ในป ค.ศ.๑๙๐๕ มีรถยนตมากกวา ๗๘,๐๐๐ คัน วิ่งระหวางนิวยอรกถึงซานฟรานซิสโก
                 โดยใชเวลา ๕๒ วัน ในปค.ศ.๑๙๐๘ เฮนรี่ ฟอรด (Henry Ford) ไดประดิษฐรถยนตฟอรดแบบ T
                 จนกระทั่งป ค.ศ.๑๙๒๗ ฟอรดไดผลิตรถยนตแบบนี้ถึง ๑๕,๐๐๗,๐๐๓ คัน การผลิตแบบรถยนต

                 และรถยนตจึงปรากฏขึ้นมากมาย ผูขับขี่ก็เพิ่มมากขึ้น จํานวนอุบัติเหตุก็เพิ่มมากขึ้นเชนกัน
                             ในป ค.ศ.๑๙๒๔ อัตราการตายที่เกิดจากการจราจรเพิ่มมากขึ้น จึงมีการตรากฎหมาย

                 จราจรขึ้น (Federal Road Aid Act) โดยประธานาธิบดี วูดโร วิลสัน (Woodrow Wilson) ใน
                 วันที่ ๑๑ กรกฎาคม ค.ศ.๑๙๑๖ เพื่อใชในการควบคุมการสัญจรของคนอเมริกันในทองถนน ตอมาในป

                 ค.ศ.๑๙๕๔ ประธานาธิบดีดไวท ไอเซนฮาวร (Dwight D. Eisenhower) ไดตรากฎหมายเพื่อรักษา
                 ความปลอดภัยบนทางหลวงขึ้น

                             สําหรับประเทศไทยรถรุนแรกที่มีบทบาทคือ รถลาก (Rickshaw) หรือที่เรียกกันวา
                 รถเจกเพราะพาหนะประเภทนี้มีแตคนจีนเปนผูมีอาชีพรับจางลาก ดั้งเดิมเปนของญี่ปุน แตแรกเมื่อ

                 ๑  ๑. พล.ต.ต.สมานชัย หงษทอง, ๒๕๓๕. ปญหาการจราจร. เอกสารเผยแพรทางวิชาการของกองบังคับการตํารวจจราจร.

                   ๒. เรื่องเลาชาวเมืองสยาม เขาถึงไดจาก http://storyofsiam.blogspot.com (๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๙)
                   ๓. รถลาก รถยนต เขาถึงไดจาก https://th.wikipedia.org (๑๗ มิถุนายน ๒๕๕๙)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13