Page 13 - จราจร
P. 13

๖




                          ป พ.ศ.๒๔๗๗ เปนปที่เกิดคําวา “จราจร” (Traffic) ขึ้นในประเทศไทยโดยกรมตํารวจ
              ไดเสนอรางพระราชบัญญัติจราจรทางบก ตอกระทรวงมหาดไทย เพื่อขอใหออกเปนกฎหมายราง

              พระราชบัญญัติฉบับนี้ พันตํารวจเอก ซี.บี.ฟอลเล็ต เปนผูรางขึ้นเปนภาษาอังกฤษโดยอาศัยหลัก
              กฎหมายจราจรของประเทศอังกฤษมาดัดแปลง และไดออกกฎหมายเมื่อ พ.ศ.๒๔๗๗ เปนพระราช

              บัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๔๗๗ จากนั้นคําวา “จราจร” ก็แพรกระจายไปถึงประชาชนโดยทั่วไปดวย
              ความเจริญของสังคมทําใหการใชรถใชถนนมีความสําคัญและจําเปนตอชีวิตประจําวันของมนุษยมากขึ้น

              ประกอบกับความเจริญทางเทคโนโลยี ทําใหมีการพัฒนารูปแบบและเครื่องยนตกลไกของยานพาหนะ
              ที่นํามาใชบนถนน กฎหมายเหลานี้จึงไดมีการปรับปรุงแกไขใหมีความทันสมัย รองรับสภาพการใชรถ

              ใชถนนใหดียิ่งขึ้นมาเปนลําดับ
                          การแกไขกฎหมายเกี่ยวกับการจราจรที่นับไดวาเปนครั้งใหญที่สุดเทาที่เคยมีมา ก็คือ

              ในป พ.ศ.๒๕๒๒ โดยไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ พระราชบัญญัติ
              รถยนต พ.ศ.๒๕๒๒ ขึ้นใชบังคับแทนกฎหมายที่เกี่ยวกับการจราจรที่ใชบังคับแตเดิม เพื่อใหสามารถ
              ควบคุม บังคับ ผูขับขี่ ผูประกอบการ และตัวรถ ใหเกิดความปลอดภัยและสะดวกในการสัญจรยิ่งขึ้น

              การที่การจราจรและขนสงไดมีการขยายตัวไปในสวนภูมิภาค ทําใหมีการสัญจรบนทางหลวงเพิ่มมากขึ้น
              ในป พ.ศ.๒๕๓๕ จึงไดมีตราพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ.๒๕๓๕ ขึ้น เพื่อใชแทนประกาศคณะปฏิวัติ

              ฉบับที่ ๒๙๕ ลงวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๑๕ ซึ่งเปนกฎหมายวาดวยทางหลวงที่ใชบังคับในขณะนั้น
              ใหสอดคลองกับความเจริญและการพัฒนาของประเทศ กฎหมายจราจรเหลานี้ไดมีการแกไขเพิ่มเติม

              ใหมีความทันสมัยเหมาะสมกับสภาพของการสัญจรมาโดยตลอดจนถึงปจจุบัน



              ñ.ò ¡ÒÃÊÌҧ¨Ôμสํา¹Ö¡¡ÒÃ໚¹ตําÃǨ¨ÃÒ¨Ã

                          ขาราชการตํารวจผูปฏิบัติหนาที่ดานการจราจร มีหนาที่อํานวยความสะดวกดานการจราจร
              และรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชนที่อาจเกิดขึ้นจากอุบัติเหตุจราจร นอกจากนี้

              ยังมีหนาที่ปองกันปราบปรามอาชญากรรมที่เกิดขึ้นบนทองถนนจึงเปนกลุมขาราชการตํารวจที่ตองปฏิบัติ
              หนาที่ใกลชิดประชาชนมากที่สุด การปฏิบัติตนของตํารวจจราจรที่ปรากฏตอสายตาของประชาชน

              จึงเปนภาพลักษณของสํานักงานตํารวจแหงชาติ ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตํารวจ
              พ.ศ.๒๕๕๓ จึงเปนกรอบในการประพฤติปฏิบัติตนของขาราชการตํารวจในการปฏิบัติหนาที่จากการที่

              ตํารวจจราจรเปนกลุมขาราชการตํารวจที่ตองปฏิบัติหนาที่ใกลชิดประชาชนมากที่สุด อีกทั้งลักษณะงาน
              บางประเภทที่ปฏิบัติอาจกระทบเสรีภาพและผลประโยชนของประชาชนมักจะไปขัดขวางการกระทําตางๆ

              ที่ละเมิดกฎหมายและระเบียบหลักเกณฑของสังคมที่ดีจึงมักไดรับการวิพากษวิจารณทั้งในดานวินัย
              ความประพฤติและการปฏิบัติงานจากประชาชนอยูเสมอๆ ทําใหภาพพจนของตํารวจจราจรอยูใน

              ระดับไมนาพึงพอใจแมวาสํานักงานตํารวจแหงชาติไดพยายามดําเนินการเนนรูปแบบการอํานวย
              ความสะดวกและใหบริการดานการจราจร การสรางความรูความเขาใจกับประชาชนใหมากขึ้น การที่จะ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18