Page 22 - Microsoft Word - บทที่ 1.doc
P. 22

21








                       นําเหตุการณที่กําลังเกิดขึ้นในขณะนั้น  ถายทอดออกมาใหผูชมไดในเวลาเดียวกับที่เหตุการณนั้นยัง
                       ดําเนินอยู ซึ่งเรียกวา “การถายทอดสด” สวนภาพยนตรนั้น ไมสามารถทําไดในกรณีนี้ เพราะตองใช

                       เวลาในการผลิตคือ การถายทํา ลางฟลม ตัดตอเสียกอนจึงจะนํามาฉายดูได

                                 8.  ภาพนิ่ง  ภาพเหมือนจริง  วิทยุและการบันทึกเสียง (Still Pictures, Realistic
                       Drawing, Radio and Recording)

                                    ประสบการณขั้นนี้เปนสื่อประสบการณที่เกี่ยวกับภาพและเสียง  ซึ่งถือวาสื่อประเภท

                       นี้มีลักษณะเปนรูปธรรม–นามธรรมพอ  ๆ  กัน  มีตัวอยางที่พอจะยืนยันไดวามีความเปนรูปธรรม-

                       นามธรรมพอ ๆ กันนั้น ไดแก สื่อภาพหรือเสียงสามารถที่จะสื่อความหมายไปถึงคนที่อานหนังสือ
                       ไมออก  และอยูในที่หางไกลสามารถรับรูขอมูลขาวสารตาง  ๆ  ได  หรือแมแตการเรียนรูก็สามารถ

                       เกิดขึ้นไดกับคนที่อานหนังสือไมออก

                                    8.1 ภาพนิ่ง  ภาพเหมือนจริง (Still Pictures & Realistic Drawing)  ไดแก  สื่อ
                       ประสบการณประเภทภาพถาย ภาพจากหนังสือพิมพ วารสาร นิตยสารตาง ๆ ภาพเหมือนจริงภาพ

                       ขาว-ดํา หรือภาพสีธรรมชาติ ทั้งนี้รวมทั้งภาพนิ่งจากการฉายดวย เชน ภาพจากการฉายสไลด ฟลม

                       สตริป ภาพฉายจากเครื่องฉายทึบแสง ภาพตาง ๆ ที่นํามาใชในขั้นนี้ตองคํานึงถึงความเหมาะสมใน

                       เรื่องของขนาด ความชัดเจน สี และความสมบูรณของภาพดวย เมื่อจะใชใหดูดวยวาเหมาะสมกับวุฒิ
                       ภาวะของผูเรียนเพียงใด

                                    8.2 วิทยุและการบันทึกเสียง (Radio & Recording) สื่อประสบการณทางดานโสต

                       ศึกษาในรูปของเสียง ไดแก สาระจากวิทยุ วิทยุโรงเรียน เสียงจากเทปเสียง มีประโยชนมากในการ
                       ใหความรูแกผูที่อยูหางไกล แตมีขอจํากัดอยูบางถาเปนวิทยุ เพราะวิทยุเปนสื่อทางเดียว (One-Way

                       Communication) จึงมีปญหาในเรื่องการสงขอมูลยอนกลับจากผูเรียนไปยังผูสอน

                                 9.  ทัศนสัญลักษณ (Visual Symbols)
                                    เปนประสบการณการเรียนรูที่ผูเรียนไดรับรูโดยการมองเห็น  อาจใชสัญลักษณที่

                       เปนรูปภาพหรือตัวหนังสือก็ได แตตองสามารถถายทอดความหมายใหเขาใจไดถูกตอง ชัดเจน และ

                       รวดเร็ว นํามาใชแทนความหมายที่เปนขอเท็จจริง แนวความคิด กระบวนการตาง ๆ ในการใชทัศน

                       สัญลักษณนี้จะดําเนินไปดวยดี  หรือผูเรียนสามารถเขาใจและแปลความไดถูกตองนั้น  ก็ตองอาศัย
                       พื้นฐานความรู  ประสบการณและมโนมติ  ตลอดจนความสามารถในการตีความหมายของผูเรียน

                       รวมทั้งความชัดเจน  ความถูกตองของทัศนสัญลักษณนั้น  ๆ  เองดวย  ตัวอยางของทัศนสัญลักษณ

                       เชน แผนภูมิ ภาพโฆษณา กราฟ แผนที่ ภาพการตูน ภาพลายเสน ฯลฯ
   17   18   19   20   21   22   23   24