Page 19 - Microsoft Word - บทที่ 1.doc
P. 19

18








                       ไดออกมาดวย และเปนสิ่งที่เราศึกษาโดยการกระทํา (Learning by doing) ดวยตัวเราเอง เราจะเห็น
                       วาประสบการณตรงที่มีความหมายหรือมีเปาหมายไมไดมีบทบาทเฉพาะในกระบวนการเรียน

                       เทานั้น แตยังเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของเราอีกดวย

                                 2.  ประสบการณจําลอง (Contrived Experiences)
                                    ในประสบการณขั้นนี้เปนประสบการณที่ผูเรียนไดรับจากการจําลองหรือเลียนแบบมา

                       จากของจริง  ทั้งนี้เพราะประสบการณจริงบางอยางนั้น  อาจมีความลําบากหรือมีขอจํากัดตาง  ๆ  ใน

                       การนํามาใช เชน อาจมีขอจํากัดในเรื่อง ขนาด เวลา สถานที่ หรือบางทีไมสามารถนําเขามาเรียนรู
                       ในหองเรียนได  เพราะอาจเกิดอันตรายในบางกรณี  ดังนั้นจึงจําเปนตองหาวิธีการที่จะทําใหผูเรียน

                       ไดรับประสบการณนั้น ๆ ไดเหมือนจริงมากที่สุด ฉะนั้นประสบการณจําลอง จึงไดเขามามีบทบาท

                       แทนประสบการณตรง  ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะใหผูเรียนไดมีโอกาสศึกษาอยางละเอียดถี่ถวน  ตัวอยาง

                       ประสบการณจําลอง  ไดแก  วัสดุสามมิติ  หุนจําลอง  สถานการณจําลองในลักษณะของหุนจําลอง
                       สถานการณจําลองในลักษณะที่ใชเทคโนโลยีสมัยใหม  เชน  การฝกหัดขับขี่รถยนตโดยใชสถานการณ

                       จําลองคอมพิวเตอร  มีกลไกของอุปกรณในการขับขี่ที่มีความสัมพันธเชื่อมโยงกับภาพเคลื่อนไหว

                       ในจอภาพ หรือการฝกขับเครื่องบินในสถานการณจําลอง เปนตน สถานการณจําลองที่ดีนั้น จะตอง
                       มีสวนคลายความเปนจริงมากที่สุด

                                 3.  ประสบการณนาฏการ (Dramatized Experiences)

                                    ประสบการณนาฏการบางครั้งเรียกวา “การแสดงละคร” เปนประสบการณที่เราจัด

                       ขึ้นแทนประสบการณจริงที่เปนอดีตไปแลว หรือเปนนามธรรมที่ยากเกินกวาจะเขาใจและไมสามารถใช
                       ประสบการณจําลองได  ในการจัดนั้นไมจําเปนตองลอกเลียนแบบหรือพยายามทําใหเปนสถานการณ

                       จริงทุกอยาง  แตจัดกระทําเทาที่จะกระทําไดโดยใหเหมาะสมกับจุดประสงคในการเรียน  เนื้อหา

                       และจะตองคํานึงถึงความสะดวกดวย  ประสบการณนาฏการนี้  แมจะไมใชสภาพการณที่เกิดขึ้นจริง
                       ก็ตาม แตก็ชวยใหผูเรียนสามารถดูและเกิดความเขาใจไดงาย ชี้ใหเห็นถึงรายละเอียดไดชัดเจนดวย

                                    ในการจัดประสบการณนาฏการนี้ ผูเรียนจะถูกแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ ผูที่อยู

                       ในฐานะผูแสดงและผูที่อยูในฐานะผูชม  ซึ่งเมื่อพิจารณาแลวผูเรียนที่อยูในฐานะผูแสดงจะมีโอกาส
                       ไดรับรูประสบการณในลักษณะที่เปนรูปธรรมมากกวาผูเรียนที่เปนเพียงผูชมเทานั้น  ดังนั้นในการ

                       จัดประสบการณนาฏการนี้ นอกจากผูเรียนจะไดมีสวนรวมในเหตุการณและความคิดนั้น ๆ แลวยัง

                       เปนการสงเสริมใหผูเรียนไดทํางานรวมกัน ใหรูจักแบงหนาที่กัน และทํางานเปนหมูคณะไดอยางมี

                       ประสิทธิภาพอีกดวย ตัวอยางไดแก การละเลนพื้นเมือง การแสดงในงานประเพณีตาง ๆ เชน แสดง
                       การลอยกระทง การสรงน้ําพระในวันสงกรานต เปนตน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24