Page 244 - report-06-final-ลายนำ_Neat
P. 244
่
้
หนา ๒๓๔ ส่วนที ๔
ั
๖. การพจารณาญตติทีสภาผแทนราษฎรมอบหมาย
ิ
ู
่
้
เรอง “การศึกษามาตรการป้องกันการเกิดโรคระบาดหรอโรคติดต่อในประเทศ”
่
ื
ื
่
่
้
ั
้
่
่
ี
ตามทีทีประชุมสภาผูแทนราษฎร ชุดที ๒๕ ปที ๑ ครงที ๒๒ (สมยสามัญประจําป ี
่
ั
ั
ครงทีสอง) วันพุธที ๒๙ มกราคม ๒๕๖๓ ได้มมติมอบหมายให้คณะกรรมาธิการการสาธารณสุข
้
่
ี
่
พิจารณาศึกษามาตรการป้องกนการเกิดโรคระบาดหรือโรคติดต่อในประเทศไทย ในกรณีศึกษา
ั
ั
การระบาดของโรคติดเชือไวรสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ซึงคณะกรรมาธิการได้ดําเนินการ
้
่
้
ี
ิ
ู
เชิญหน่วยงานทีเกยวข้องมารวมประชุมเพือให้ข้อมล และข้อเท็จจรง ตลอดจนชีแจงแสดงความ
่
่
่
่
คดเห็นจํานวน ๗ ครง ระหว่างวันที ๒๓ มกราคม ๒๕๖๓ ถึงวันที ๑๑ มถุนายน ๒๕๖๓ ทังนี ้
่
้
่
ิ
ิ
ั
้
่
่
ู
คณะกรรมาธิการได้มหนังสือขอข้อมลเพิมเติมจากหนวยงานทเกยวข้องมาใช้ประกอบ
ี
ี
ี
่
่
่
ึ
การพิจารณาจํานวน ๑๐ หน่วยงาน ซึงจากการพิจารณาศกษา สามารถสรปผลการศกษาได้ดังนี ้
ุ
ึ
้
็
การระบาดของโรคติดเชือไวรสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ถือเปนโรคระบาดจาก
ั
ั
ี
ี
่
่
ั
ั
์
่
ั
ิ
ุ
ไวรสอุบติใหม (มนุษยยงไมมภมคมกน) มการระบาดไปทัวโลก โดยมระยะฟักตัวของโรค
้
ี
ู
ั
่
่
ี
่
ั
่
้
คอนข้างนานและสามารถแพรเชือได้กอนเกิดอาการ ยงไมมยารกษาทีเฉพาะต่อโรค อัตรา
่
่
้
ั
การเสียชีวิตจะขึนกบประสิทธิภาพและความเพียงพอของระบบสุขภาพทีรองรบผูปวยในภาวะ
้
ั
่
ี
้
็
่
่
วิกฤตได้ รวมทังมเชืออยในรางกายเปนระยะเวลานานหลังจากอาการของโรคดีขึน มาตรการ
ู
้
้
ในระยะแรกเปนเชิงรบคอการติดตามควบคมโรคไมให้แพรระบาด ปจจุบนอันดับการติดเชือ
ุ
่
็
ั
่
ื
้
ั
ั
ของประเทศไทยอยูอันดับที ๙๒ ของโลก และจัดระบบสาธารณสขทีมคณภาพ สามารถรองรบ
่
ี
ั
ุ
ุ
่
่
็
ี
็
่
ิ
่
ั
การดูแลรกษาผูปวยได้เปนอยางดี โดยมผูเสียชีวิตคดเปนรอยละ ๑.๘ (จํานวน ๕๘ คน)
้
้
้
็
้
ั
้
่
้
ื
ตลอดจนการให้ความรความเขาใจเกยวกบการดูแลตนเองไมให้ติดเชือหรอเปนผูแพรเชือต่อ
้
้
ู
่
่
ี
ื
ประชาชนกประสบความสําเรจเปนอยางสูง ประชาชนให้ความรวมมอจากการได้รบความร ู ้
่
็
็
ั
็
่
ื
่
ความเข้าใจทถูกต้องในการใช้หน้ากากอนามัย การล้างมอ การเว้นระยะห่างทางสังคม
ี
ี
่
ิ
็
จากสถานการณ์การแพรระบาดทีมการเปลียนแปลงอยางรวดเรวและรนแรง ทําให้เกด
่
ุ
่
่
้
ิ
้
ิ
ผลกระทบเป็นวงกว้างในทุกมติทังทางสุขภาพ สังคม และเศรษฐกจ ดังนัน การดําเนินมาตรการ
ั
่
่
ี
ต่าง ๆ จึงต้องมการปรบเปลียนตลอดเวลา เพือให้ทันต่อสถานการณ์ของโรคทีเปลียนแปลงไป
่
่
่
โดยมเปาหมายเพือลดโอกาสการแพรเชือเข้าสูประเทศไทย และชะลอการระบาดภายในประเทศ
่
้
่
้
ี
้
้
ั
เพือให้ประชาชนทุกคนปลอดภยจากโรคติดเชือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ทังนี
่
้
การเตรยมความพรอมของประเทศไทยในการตอบสนองการระบาด จะต้องมการผสานความร ้ ู
้
ี
ี
่
ั
ิ
์
์
ิ
ในมติด้านวิทยาศาสตร การแพทย เศรษฐกจและสังคม รวมทังการสือสารและการรบร ้ ู
้
ี
ั
การดําเนินการจัดการในระยะวิกฤต โดยมการนําพระราชบญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘
พระราชกาหนดการบรหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ มาใช้ในการควบคมโรค
ํ
ุ
ิ
้
่
และสถานการณ์การแพรระบาด เพือให้ครอบคลุมทังการจัดการด้านโรค และการช่วยเหลือ
่
่
ี
เยยวยาประชาชนทีได้รบผลกระทบจากมาตรการลดการแพรระบาด โดยได้มประกาศให้
่
ี
ั
ั
่
ั
้
โรคติดเชือไวรสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) เปนโรคติดต่ออันตรายลําดับที ๑๔ ตามพระราชบญญัติ
็
้
ั
ี
โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ และมการจดตังศนยบรหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชือ
์
่
ิ
ู
้
์