Page 7 - โครงงานวิทย์
P. 7

บทที่ 2



                                                    เอกสารที่เกี่ยวข้อง


                        การศึกษาวิธีการเร่งรากปักช้าด้วยสูตรน ้ายาชีวภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเจริญเติบโตของราก

               พืช ผู้ศึกษาได้ท้าการค้นคว้าข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ดังนี

                        การขยายพันธุ์พืชโดยการเร่งรากปักช้า หรือการปักช้า เป็นวิธีการที่นิยมใช้กันมาก เพราะท้าให้ได้
               ปริมาณต้นพืชไปปลูกตามความต้องการมาก ใช้ระยะเวลาประมาณ  7 – 10  วัน  ก็สามารถน้าไปปลูกหรือ

               จ้าหน่ายได้  หากมีการควบคุมความชื นในวัสดุปักช้าได้ดี  การขยายพันธุ์พืชโดยวิธีนี  สามารถท้าได้ง่าย

               เพียงแต่มีความรู้ความเข้าใจในการคัดเลือกกิ่งพันธุ์ที่จะน้ามาตัดช้า  และจัดหาวัสดุส้าหรับปักช้าได้ตาม
               ต้องการ  นอกจากนี   ยังใช้เงินลงทุนค่อนข้างน้อย  และสามารถจัดหาพันธุ์ไม้ในท้องถิ่นไปปักช้าได้ง่าย

               ด้วย  ประกอบกับในปัจจุบันคนทั่วไปก้าลังนิยมปลูกต้นไม้กันมาก  โดยเฉพาะไม้ดอกไม้ประดับที่ปลูกตาม
               อาคารบ้านเรือนต่าง ๆ รวมทั งใช้ส้าหรับจัดสวนหย่อม  มีความต้องการพันธุ์ไม้ต่าง ๆ เป็นจ้านวนมาก  จึงเห็น

               ว่า  หากริเริ่มจัดท้าโครงงานนี ขึ น  น่าจะเป็นวิธีปฏิบัติการขยายพันธุ์ไม้ได้เป็นอย่างดี  ท้าให้มีรายได้ระหว่าง

               เรียน  และเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพต่อไป  รวมทั งได้พื นฐานความรู้ส้าหรับศึกษาต่อในระดับสูงต่อไป


                     การปักช้า  เป็นการน้าส่วนต่าง ๆ  ของพืชพันธุ์ดีที่เราต้องการมาตัดแล้วปักช้าในวัสดุเพาะช้า  เพื่อให้ได้

               ต้นพืชต้นใหม่จากส่วนที่น้ามาปักช้า  วิธีการตัดช้านี ท้าให้ชิ นส่วนของพืชที่อยู่ในวัสดุเพาะช้าพยายามสร้างราก
               พร้อมกับพัฒนาส่วนยอดหรือต้นอ่อนขึ นมาใหม่  เมื่อทั งสองส่วนนี เจริญสมบูรณ์แข็งแรงดีแล้วก็ย้ายต้นพืชใหม่

               ไปปลูกต่อไป  แต่ในบางครั งพบว่าการตัดช้ามักไม่ประสบความส้าเร็จคือ  ส่วนล่างที่อยู่ในวัสดุเพาะช้าไม่ออก

               รากหรือออกรากน้อยและช้า  จ้าเป็นต้องใช้ฮอร์โมนเร่งรากช่วยเร่งการออกรากให้เร็วยิ่งขึ น  ซึ่งความเข้มข้น
               ของฮอร์โมนที่ใช้ย่อมแตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดพืช


                               การตัดช้าแบ่งออกเป็น

               การตัดช้ากิ่ง (Stem  cutting)

               การตัดช้าราก (Root  cutting)
               การตัดช้าใบ (Leaf  cutting)

               การตัดช้าใบที่มีตาติด (Leaf  cutting)

                            1. การตัดช้ากิ่ง (Stem  cutting) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ
                                   1.1 การตัดช้ากิ่งแก่  เป็นการตัดช้ากิ่งแก่ที่ไม่มีใบติด  แต่ต้องเป็นกิ่งที่มีอาหารสะสมอยู่  ต้อง

               ตัดช้ากิ่งที่ไม่มีตาข้างที่ก้าลังแตกออกมาใหม่ ๆ  ความยาวของกิ่งที่ตัดประมาณ  15 –20  เซนติเมตร  ควรตัด
               เฉียงเป็นรูปปากฉลาม  ท้ามุมประมาณ 45 -60 องศา  ทั งด้านบนและด้านล่าง  โดยส่วนด้านล่างของกิ่งที่เป็น

               ส่วนปักช้านั นต้องพยายามตัดให้ปากแผลชิดกับข้อ  ส่วนบนควรตัดเหนือตาสุดท้ายของกิ่งประมาณ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12