Page 8 - โครงงานวิทย์
P. 8

1 –1.5  เซนติเมตร  เพราะตาส่วนบนของกิ่งที่ปักช้าจะแตกก่อนตาที่อยู่ด้านล่าง  และควรชุบสารเคมีป้องกัน

               ไม่ให้เชื อราเข้าทางปากแผล  แล้วจึงน้าไปปักช้าในกระบะปักช้าที่มีวัสดุพรางแสง  รดน ้าเช้า – เย็น  สังเกตดู
               หากวัสดุเพาะช้าแห้งควรเพิ่มช่วงการให้น ้าถี่ขึ น  เมื่อกิ่งปักช้าเริ่มมีการแตกตาเป็นยอดใหม่  รวมทั งระบบราก

               ใหม่เริ่มแก่และแข็งแรงแล้วจึงท้าการย้ายต้นพืชใหม่ลงปลูกในภาชนะที่เตรียมไว้  ช่วงนี ควรน้าไปไว้ในร่มร้าไร

               สักระยะหนึ่งก่อนจนกว่าพืชต้นใหม่จะแข็งแรงดีจึงให้รับแสงเต็มที่  พืชที่เหมาะจะใช้วิธีการขยายพันธุ์แบบ
               นี   ได้แก่  เฟื่องฟ้า  กุหลาบ

                                1.2 การตัดช้ากิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อน  หรือกิ่งเพสลาด  ต้องมีใบติดอยู่ด้วยเพื่อช่วยปรุงอาหาร  โดยให้
               ริดใบเฉพาะส่วนโคนกิ่งที่ต้องปักช้าในวัสดุเพาะช้าออกประมาณ 2 – 3 ใบ  แล้วตัดปลายกิ่งและโคนกิ่งเฉียง

               ท้ามุม 45 – 60 องศา  ความยาวของกิ่งประมาณ  15 – 20  เซนติเมตร  เนื่องจากกิ่งปักช้าจะมีการคายน ้า

               ค่อนข้างสูง  ดังนั นต้องมีการให้น ้าเพื่อให้เกิดความชื นตลอดเวลา  หรือปักช้าในกระบะพ่นหมอกจะดีที่สุด
               เนื่องจากมีความชื นสูง  ควรดูแลและป้องกันเชื อราที่จะเข้ามาท้าลายกิ่ง  หลังจากกิ่งปักช้าเจริญเป็นต้นพืชใหม่

               และมีระบบรากแข็งแรงสมบูรณ์จึงย้ายปลูกต่อไป  พืชที่เหมาะจะใช้วิธีการแบบนี  ได้แก่  ส้ม  ฝรั่ง  มะกอก


                               1.3 การตัดช้ากิ่งอ่อนและยอดอ่อน  การตัดช้าวิธีนี จะออกรากได้ง่าย  ความยาวของกิ่ง

               ประมาณ  3 – 5 นิ ว   ริดใบบริเวณโคนกิ่งออกเล็กน้อย  ควรปักช้าในที่มีความชื นสูงหรือกระบะพ่นหมอกพืช
               ที่เหมาะจะใช้วิธีการแบบนี  ได้แก่  เบญจมาศ  เข็มญี่ปุ่น  สน  คาร์เนชั่น

                             2. การตัดช้าราก (Root cutting)  การตัดช้ารากจะท้าได้ส้าเร็จหรือไม่ขึ นอยู่กับการเกิดตา  ซึ่ง

               จะให้ก้าเนิดต้นและรากบนรากของพืชที่จะน้ามาปักช้า พืชที่เกิดหน่อ  ราก  ได้แก่ สน แคแสด สัก  สาเก
               การตัดควรเลือกรากขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ¼ – ½  นิ ว  ตัดให้มีความยาว  2  นิ ว การตัดมักจะตัดตรง ๆ

               การเกิดต้นค่อนข้างจะเกิดทางด้านโคนราก  ส่วนการเกิดรากจะเกิดทางด้านปลายราก  และการเกิดต้นจะเกิด
               ได้เร็วกว่าการเกิดราก

                               3. การตัดช้าใบ (Leaf cutting)  เป็นวิธีที่ใช้ขยายพันธุ์พืชพวกที่มีใบอวบน ้า  โดยรากและยอดจะ

               เกิดมาจากฐานรอยตัดของใบ  โดยเฉพาะตรงที่อยู่ของเส้นใบหรือเส้นกลางใบ  ซึ่งจะท้าให้ใบพืชเดิมที่ปักช้าอยู่
               กลายเป็นส่วนหนึ่งของต้นใหม่  แบ่งออกได้เป็น  3  แบบ ดังนี

                                 3.1 การตัดช้าแผ่นใบ  การน้าแผ่นใบไปท้าการตัดช้าให้เกิดต้นใหม่  แบ่งเป็น  2  พวก

                                     ใบที่เกิดตาอยู่ก่อนแล้ว  ใบพืชพวกนี บริเวณของใบโดยเฉพาะที่เป็นจักใบของใบแก่จะมีจุด
               ก้าเนิดตาอยู่แล้ว  การน้าไปปักช้าเป็นการกระตุ้นตาที่มีอยู่แล้วเจริญออกมาเป็นต้นเท่านั น  ได้แก่  ใบโคม

               ญี่ปุ่นหรือต้นคว่้าตายหงายเป็น    โดยการน้าใบแก่มาวางบนวัสดุเพาะช้าที่ชื น  รดน ้าเป็นครั งคราวเพื่อไม่ให้ใบ

               เหี่ยว  ประมาณ  1 – 2 สัปดาห์  ก็จะเห็นต้นเล็ก ๆ  เกิดขึ นบริเวณจักใบ  ขณะเดียวกันก็จะหยั่งรากลงหา
               อาหารจากวัสดุเพาะช้า  และเมื่อต้นโตมีใบ 2 – 3 ใบ  ต้นเหล่านี ก็จะเริ่มแยกตัวเองและเลี ยงตัวเองได้โดย

               อิสระ  เป็นระยะเวลาที่เหมาะที่จะย้ายไปปลูกต่อไป  ใบที่ยังไม่เกิดตา  ใบพืชพวกนี ต้องตัดใบไปปักช้า
               ระยะเวลาหนึ่งก่อน  ใบจึงจะสร้างจุดก้าเนิดขึ นที่ฐานรอยตัดที่ปักอยู่ในวัสดุเพาะช้า  ได้แก่  ใบว่านลิ น

               มังกร  จะเลือกใบที่แก่  ถ้าใบยาวมากเกินไปก็จะตัดออกเป็นท่อน ๆ  ให้แต่ละท่อนยาว  3 – 5  นิ ว  แล้ว
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13