Page 9 - โครงงานวิทย์
P. 9
น้าไปปักในวัสดุเพาะช้า โดยปักให้ลึกประมาณ 1/3 ของแผ่นใบ และเมื่อใบเริ่มแทงยอดโผล่จากวัสดุเพาะ
ช้า และที่ฐานรอยตัดเกิดรากมากพอก็ย้ายปลูกได้
3.2 การตัดช้าก้านใบ เหมาะส้าหรับใบพืชขนาดเล็ก และใบพืชชุ่มน ้า ได้แก่ ใบเพปเพอโร
เมีย ใบอัฟริกันไวโอเล็ท นอกจากนี อาจใช้กับใบพืชเนื อแข็งบางชนิด เช่น มะกรูด มะนาว การปักช้าจะ
เลือกใบค่อนข้างแก่ที่มีความสมบูรณ์ ขนาดใบปานกลาง โดยตัดโคนก้านใบให้เหลือประมาณ ½ – 1 นิ ว
ด้วยมีดคม ๆ น้าไปปักช้าในวัสดุเพาะช้าที่โปร่งและมีความชื นสูง ปักใบให้ลึกพอมิดก้านใบแล้วน้าไปไว้ที่ชื น
3.3 การตัดช้าส่วนของใบ การตัดช้าใบคล้ายการตัดช้าก้านใบ แต่จะแตกต่างกันที่เป็นการตัดช้าใบ
ที่มีขนาดโต ดังนั นต้องตัดใบออกเป็นส่วนย่อย ๆ ให้แต่ละส่วนของเส้นใบและแผ่นใบติดอยู่ด้วย เช่น การ
ตัดช้าใบกล็อกซีเนีย และใบบีโกเนีย การตัดใบแบบนี จะมีส่วนของรอยตัดมาก ประกอบกับเป็นพืชชุ่มน ้ามี
โอกาสเน่าเสียง่าย ดังนั นควรใช้ปลายมีดตัดส่วนของเส้นใบให้ขาดและห่างจากกัน ส่วนบริเวณแผ่นใบเป็น
บริเวณที่สร้างอาหารจะไม่ถูกตัดจะช่วยลดการเน่าเสียของแผ่นใบลงได้ และท้าให้การตัดช้าได้ผลดีขึ น ส่วน
การปักช้าจะวางใบไว้ในวัสดุเพาะช้าที่ชื นและร่ม หลังจากที่ฐานรอยตัดเกิดต้นและราก ใบเก่าก็จะค่อย ๆ
เสื่อมสภาพไปในที่สุด แต่ละต้นที่เกิดจากฐานรอยตัดก็จะแยกตัวเป็นอิสระและเลี ยงตัวเองได้ ในระยะนี ต้นที่
เกิดก็จะเจริญเป็นกลุ่ม ๆ ซึ่งสามารถจะแยกไปปลูกได้
4. การตัดช้าใบที่มีตาติดอยู่ จะมีใบพร้อมก้านใบแล้วต้องมีส่วนของต้นและตาที่โคนก้านใบติดไป
ด้วย การตัดช้าวิธีนี ใช้ได้กับพืชทุกพืชที่ออกรากได้ไม่ยากด้วยการตัดช้าต้น เหมาะกับพืชที่หาได้ยากและใบมี
ขนาดโตพอ เช่น ยางอินเดีย โกสน ตลอดจนในส้มบางชนิดที่ออกรากง่ายและมีใบโต
คุณสมบัติ ของส่วนประกอบในการท้าน ้ายาเร่งรากและประโยชน์
1. เครื่องดื่มชูก้าลัง
ที่มีส่วนผสมของสารคาเฟอีนในปริมาณไม่เกิน 50 มิลลิกรัม ต่อ 1 ขวด (100 - 150 มิลลิลิตร)
เครื่องดื่มชนิดนี ส่วนใหญ่เน้นไปทางด้านพลังงาน นักวิทยาศาสตร์ได้ให้พื นฐานกับเครื่องดื่มชนิดนี ว่า เครื่องดื่ม
[2]
ชนิดนี มีความใกล้เคียงกันกับเครื่องดื่มที่ไม่มีส่วนผสมของคาเฟอีน โดยส่วนใหญ่แล้วเครื่องดื่มชนิดนี จะนิยม
ดื่มในหมู่ผู้ใช้แรงงาน และคนที่ท้างานหนักเนื่องจากเมื่อท้างานเสร็จร่างกายจะอ่อนเพลีย จึงต้องการพลังงาน
ชดเชยกลับมา
ส่วนประกอบของเครื่องดื่มชูก้าลัง
ส่วนใหญ่ในเครื่องดื่มชูก้าลังจะมีส่วนผสมที่ส้าคัญคือ Xanthine , วิตามินบี และสมุนไพร บางยี่ห้อก็
ใส่ส่วนผสมเพิ่มเติมเช่น Guarana แปะก๊วย โสม บางยี่ห้อก็จะใส่น ้าตาลในปริมาณที่สูง บางยี่ห้อก็ถูกออกแบบ
ให้มีพลังงานต่้า แต่ส่วนผสมหลักของเครื่องดื่มชูก้าลังก็คือคาเฟอีน ซึ่งเป็นส่วนผสมชนิดเดียวกันกับกาแฟหรือ
ชา เครื่องดื่มชูก้าลังส่วนใหญ่จะมีปริมาตร 237 มิลลิลิตรต่อขวด (ประมาณ 8 ออนซ์) มีสารคาเฟอีนประมาณ