Page 111 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 111

ควนใต้
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    ดอกเพศผู้รูปคล้ายจานกลม รูประฆัง หรือรูปลูกข่าง เกสรเพศผู้ 3 อัน เชื่อมติดกัน  ใบประดับรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ดอกไร้ก้าน หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-5 มม.
                    ที่โคน จานฐานดอกเป็นเกล็ด รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด เกสรเพศเมีย  ด้านนอกมีขน กลีบหลังรูปขอบขนาน โค้งกลับ ยาวประมาณ 1 มม. กลีบหน้ามี
                    ไร้ก้าน ยอดเกสรเพศเมีย 3 อัน ส่วนมากแยกกัน ผลส่วนมากแบบแห้งแตก บางครั้ง  4 แฉกสั้น ๆ ขนาดเท่า ๆ กัน ขยายในผล ดอกสีขาวถึงม่วง รูปปากเปิด ยาว
                    มีผนังชั้นนอกสด                                     0.8-1 ซม. กลีบบน 4 กลีบ รูปกลม กลีบล่างรูปขอบขนาน เว้า หลอดกลีบโค้งงอ
                                                                        จานฐานดอกจักเป็นพู เกสรเพศผู้ 2 คู่ ยาวไม่เท่ากัน รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย
                       สกุล Breynia เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Euphorbiaceae ปัจจุบันได้รวมสกุล Sauropus   เป็นแฉกสั้น ๆ ผลย่อยเปลือกแข็งเมล็ดล่อน รูปไข่ ยาวประมาณ 1 มม.
                       ไว้ด้วย ทำาให้มีมากกว่า 80 ชนิด ในไทยมีประมาณ 40 ชนิด เป็นพืชต่างถิ่น 3 ชนิด
                       คือ B. disticha J. R. Forst & G. Forst, B. thorelii (Beille) Welzen & Pruesapan    พบในลาว และกัมพูชา ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                       และ B. spatuliifolius (Beille) Welzen & Pruesapan ชื่อสกุลตั้งตามนักธรรมชาติ  ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ที่ทุ่งค่าย จังหวัดตรัง ขึ้นตามทุ่งหญ้าที่ชื้นแฉะ
                       วิทยาชาวเยอรมัน Jacob Bretne (1637-1697)         ในป่าเต็งรังหรือป่าเบญจพรรณ ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร

                                                                           สกุล Anisochilus Wall. ex Benth. อยู่ภายใต้เผ่า Ocimeae มีีประมาณ 20 ชนิด
                    ครามน้ำา                                               พบในแอฟริกาและเอเชีย ในไทยมี 4 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “anisos”
                    Breynia retusa (Dennst.) Alston                        ไม่เท่ากัน และ “chilos” กลีบปาก ตามลักษณะกลีบเลี้ยงและกลีบปาก
                      ชื่อพ้อง Phyllanthus retusus Dennst.
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                       ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 5 ม. ใบรูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 1.2-3.6 ซม. ปลายมนหรือ  Li, X.W. and I.C. Hedge. (1994). Lamiaceae. In Flora of China Vol. 17: 268.
                    กลม มีติ่งแหลมสั้น ๆ โคนเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบยาว 0.5-2.5 มม.   Suddee, S., A.J. Paton and J. Parnell. (2004). A taxonomic revision of tribe
                    ดอกออกเป็นกระจุกหรือออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1.5-5 มม.   Ocimeae Dumort. (Lamiaceae) in continental South East Asia. II. Plectran-
                    กลีบเลี้ยงยาว 3-5 มม. ปลายจักตื้น ๆ เส้าเกสรเพศผู้ยาว 1-1.5 มม. ดอกเพศเมีย  thinae. Kew Bulletin 59(3): 379-387.
                    ก้านดอกยาว 1.2-3 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1.5 มม. จักตื้น ๆ มีขนด้านนอก
                    ขยายในผล ยอดเกสรเพศเมียเชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง ปลายแยกเป็น 3 แฉก
                    ปลายแฉกแยก 2 พู ผลจัก 3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 มม. ก้านยาว 2-6 มม.
                    กลีบเลี้ยงเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.6-1.7 ซม. ผลแก่สีแดง เมล็ดรูปสามเหลี่ยม ยาว
                    ประมาณ 4 มม. มีเยื่อหุ้มสีเหลืองหรือแดง
                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน และ
                    คาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจายทุกภาค ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ
                    ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น ริมล�าธารหรือบนสันเขา ความสูง 100-1300 เมตร
                    ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณช่วยเพิ่มน�้านมในสตรี เป็นยาสมาน
                                                                          ครูมวย: ใบเรียงตรงข้ามหรือเรียงเป็นกระจุกรอบข้อ ช่อดอกแบบช่อกระจุกไร้ก้านรอบแกนคล้ายช่อเชิงลด บางครั้ง
                                                                        แยกแขนง ดอกไร้ก้าน รูปปากเปิด (ภาพ: เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ - RP)
                      เอกสารอ้างอิง
                       van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae (Sauropus). In Flora of Thailand Vol.   ควนใต้
                          8(2): 521-554.
                       van Welzen, P.C. and H.-J. Esser. (2005). Euphorbiaceae (Breynia). In Flora of   Vitex longisepala King & Gamble
                          Thailand Vol. 8(1): 132-141.                  วงศ์ Lamiaceae
                       van Welzen, P.C., K. Pruesapan, I.R.H. Telford, H.-J. Esser and J.J. Bruhl.
                          (2014). Phylogenetic reconstruction prompts taxonomic changes in   ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนสั้นนุ่มตามก้านใบ แผ่นใบทั้งสองด้าน และกลีบเลี้ยง
                          Sauropus, Synostemon and Breynia (Phyllanthaceae tribe Phyllantheae).   ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ก้านยาว 2-15 ซม. ใบย่อยรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. แผ่นใบ
                          Blumea 59: 77-94.                             มีต่อมกระจาย ใบข้างก้านสั้นมาก ใบปลายก้านยาว 2-6 มม. ช่อดอกยาว 3-7 ซม.
                                                                        ก้านช่อยาว 1-2 ซม. ใบประดับย่อยรูปใบหอก ยาว 0.6-1 ซม. ร่วงช้า ก้านดอก
                                                                        ยาว 1-2 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 3 มม. กลีบรูปใบหอก ยาว 3-6 มม.
                                                                        ติดทน ดอกสีเหลือง หลอดกลีบดอกยาว 5-8 มม. กลีบบน 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
                                                                        ยาว 3-6 มม. กลีบล่างยาว 2-7 มม. เกสรเพศผู้ยาว 0.6-1 ซม. ยื่นพ้นหลอดกลีบดอก
                                                                        รังไข่มีต่อมสีเหลืองหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 ซม. ผลกลม
                                                                        เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.5 ซม. ส่วนมากมี 4 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตีนนก, สกุล)
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ปัตตานี ยะลา และ
                                                                        นราธิวาส ขึ้นริมล�าธารหรือที่ลาดชันในป่าดิบชื้น ความสูง 100-700 เมตร

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Chantaranothai, P. (2011). A revision of the genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand.
                                                                              Tropical Natural History 11(2): 98.
                                                                           Kochummen, K.M. (1978). Verbenaceae. Tree Flora of Malaya. Vol. 3: 311.

                      ครามน�้า: ดอกเพศเมียอยู่ช่วงปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงขยายในผล ผลแก่สีแดง จัก 3 พู ตื้น ๆ ยอดเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน
                    (ภาพดอก: ทุ่งสง นครศรีธรรมราช - RP; ภาพผล: ทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก - PK)

                    ครูมวย
                    Anisochilus harmandii Doan ex Suddee & A. J. Paton
                    วงศ์ Lamiaceae
                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1.5 ม. ล�าต้นเป็นสี่เหลี่ยม กิ่งมีต่อมสีเหลืองอมแดง ใบเรียง
                    ตรงข้ามหรือเรียงรอบข้อ รูปใบหอก ยาว 1.5-9 ซม. ขอบจักมน จักฟันเลื่อยหรือ
                    ม้วนลง แผ่นใบมีขน มักมีต่อมด้านล่าง ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกแบบ  ควนใต้: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ติดทน ดอกสีเหลือง เกสรเพศผู้ยื่นพ้นหลอด
                    ช่อกระจุกไร้ก้านรอบแกนคล้ายช่อเชิงลด ยาว 10-15 ซม. บางครั้งแยกแขนง   กลีบดอก (ภาพ: บันนังสตา ยะลา - RP)

                                                                                                                      91






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   91                                                                  3/1/16   5:12 PM
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116