Page 110 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 110

คนทา  คนทา          สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                Harrisonia perforata (Blanco) Merr.
                วงศ์ Rutaceae
                  ชื่อพ้อง Paliurus perforatus Blanco
                   ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. หูใบเป็นหนาม ยาวประมาณ 1 ซม. ใบประกอบปลายคี่
                เรียงเวียน ยาวได้ถึง 20 ซม. แกนกลางมีปีก มีขนสั้นนุ่ม ก้านยาวประมาณ 3 ซม.
                ใบย่อยมีใบเดียวหรือมีได้ถึง 7 คู่ รูปรี รูปขอบขนาน รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด หรือ
                แกมรูปไข่ ยาว 1-2 ซม. บางครั้งจักเป็นพู ก้านใบสั้นมาก ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือ
                แยกแขนงสั้น ๆ ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ยาวประมาณ
                1.5 มม. เชื่อมติดกันประมาณกึ่งหนึ่ง กลีบดอก 4-5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อมในตาดอก
                รูปขอบขนานถึงรูปใบหอก ยาว 6-9 มม. เกสรเพศผู้ 8-10 อัน ติดที่โคนจานฐานดอก
                ก้านชูอับเรณูยาว 0.7-1 ซม. มีแผ่นคล้ายลิ้นจัก 2 พู ยาวประมาณ 2 มม. ขอบมีขน
                อับเรณูยาว 1.5-4.5 มม. จานฐานดอกรูปถ้วย มี 4-5 คาร์เพล เชื่อมติดกัน เกลี้ยง   คนทิสอ: ใบประกอบมี 3 ใบย่อย (ภาพซ้าย: cultivated - RP); คนทิสอทะเล: ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ใบส่วนมาก
                ก้านเกสรเพศเมียยาว 5-8 มม. มีขน ผลผนังชั้นในแข็ง กลม แบนเล็กน้อย มักจักเป็นพู   มีใบเดียว ผลกลม กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพขวา: ระโนด สงขลา - RP)
                เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.                          ครอบจักรวาล
                   พบที่หมู่เกาะอันดามัน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทย  Fioria vitifolia (L.) Mattei
                พบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง หรือที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ
                900 เมตร น�้าคั้นจากเปลือกรากแก้ท้องเสีย และบิด      วงศ์ Malvaceae
                                                                      ชื่อพ้อง Hibiscus vitifolius L., H. yunnanensis S. Y. Hu
                   สกุล Harrisonia R. Br. ex A. Juss. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Simaroubaceae   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2.5 ม. เปลือกเป็นเส้นใยเหนียว มีขนกระจุกรูปดาวกระจาย
                   หรือ Cneoraceae มี 11 ชนิด ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักทำาสวน  หูใบรูปเส้นด้าย ยาว 2-4 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปฝ่ามือ 3-7 พู หรือเรียบ
                   ชาวอังกฤษ Arnold Harrison หรือ ผู้เขียนหนังสือเกี่ยวกับไม้ผลชาวอังกฤษ   รูปไข่กว้างหรือรูปหัวใจ ยาว 2.5-14 ซม. ขอบจักฟันเลื่อยหรือจักมน แผ่นใบมีขน
                   Charles Harrison                                  ทั้งสองด้าน เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบยาว 1-5 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ
                                                                     หรือเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 1.5-3 ซม. ริ้วประดับ
                  เอกสารอ้างอิง                                      มี 8-10 อัน รูปแถบ ยาว 0.6-2 ซม. ติดทน กลีบเลี้ยงยาว 1-2 ซม. มี 5 กลีบ
                   Nooteboom, H.P. (1981). Simaroubaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 445-446.
                   Peng, H. and T.G. Harley. (2008). Cneoraceae. In Flora of China Vol. 11: 99.  แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ขยายในผล ดอกสีเหลือง โคนด้านในสีม่วงอมแดง มี 5 กลีบ
                                                                     รูปไข่กลับ ยาว 1.5-5 ซม. ด้านนอกมีแถบขน 2 แนว เส้าเกสรยาว 0.8-2 ซม.
                                                                     อับเรณูรูปตัวยู ติดตลอดความยาว รังไข่มีขนสาก ก้านเกสรเพศเมียแยกเป็น 5 แฉก
                                                                     ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตกเป็น 5 ซีก สั้นกว่ากลีบเลี้ยง เส้นผ่านศูนย์กลาง
                                                                     1-1.5 ซม. มีสันปีก 5 สัน ปลายเป็นจะงอย มีขนแข็งกระจาย ก้านผลเป็นข้อ แต่ละซีก
                                                                     มี 2-4 เมล็ด รูปคล้ายไต ยาว 2-3 มม. ผิวมีตุ่ม
                                                                       พบในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่าหรือ
                                                                     ที่รกร้าง ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร ใบมีสรรพคุณบ�ารุงโลหิต

                                                                       สกุล Fioria Mattei อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Malvoideae เผ่า Hibisceae มีชนิดเดียว
                                                                       ต่างจากสกุล Hibiscus ที่มีริ้วประดับยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง และเส้าเกสรไม่ยื่น
                  คนทา: ใบประกอบปลายคี่ แกนกลางมีปีก ช่อดอกแบบช่อกระจุก ผลกลม แบนเล็กน้อย (ภาพดอก: ภูหลวง เลย;   พ้นปากหลอดกลีบดอก
                ภาพผล: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK)
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                คนทิสอทะเล                                             Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae (Hibiscus yunnanensis),
                Vitex trifolia L. subsp. litoralis Steenis                In Flora of China Vol. 12: 292.
                วงศ์ Lamiaceae
                  ชื่อพ้อง Vitex rotundifolia L. f.
                   ไม้พุ่มทอดนอนแผ่กว้าง มีรากตามข้อ ใบประกอบส่วนมากมีใบเดียว พบน้อย
                ที่มีใบย่อย 2-3 ใบ รูปไข่กว้าง กลม ๆ หรือรูปไข่กลับ ยาว 2.5-5 ซม. แผ่นใบมี
                ขนสั้นนุ่ม ก้านใบสั้นหรือไร้ก้าน ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 10 ซม. กลีบเลี้ยง
                และกลีบดอกด้านนอกมีขนและต่อมกระจาย กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาว 4-5 มม.
                ขยายในผลเล็กน้อย ดอกสีม่วง หลอดกลีบดอกส่วนเลยกลีบเลี้ยงยาว 6-7 มม.
                กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 3-4 มม. กลีบกลางยาว 6-8 มม.
                มีขนอุยด้านใน เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก รังไข่มีต่อมหนาแน่น ผลกลม
                เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 มม. มี 2-4 ไพรีน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมทีี่ ตีนนก, สกุล)  ครอบจักรวาล: ริ้วประดับยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง เส้าเกสรไม่ยื่นพ้นกลีบดอก (ภาพ: นครศรีธรรมราช - RP)
                   พบตามชายฝั่งทะเลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จีน ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย และ  ครามน้ำา, สกุล
                หมู่เกาะแปซิฟิก ขึ้นตามชายหาด และเป็นไม้ประดับ ส่วน subsp. trifolia หรือ  Breynia J. R. Forst. & G. Forst.
                คนทิสอ เป็นไม้พุ่มสูง ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ใบขนาดใหญ่และเรียวแคบกว่า  วงศ์ Phyllanthaceae
                  เอกสารอ้างอิง                                        ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น แยกเพศร่วมต้น หูใบขนาดเล็กร่วงเร็ว ใบเรียงสลับ
                   Chantaranothai, P. (2011). A revision of the genus Vitex (Lamiaceae) in Thailand.   ระนาบเดียว แผ่นใบไม่มีต่อม ช่อดอกคล้ายช่อกระจะออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก
                      Tropical Natural History 11(2): 102.
                   Chen, S.-L. and M.G. Gilbert. (1994). Verbenaceae. In Flora of China Vol. 17: 30.  ตามซอกใบ กิ่ง หรือล�าต้น ดอกเพศเมียอยู่ช่วงปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ติดทน
                                                                     ในดอกเพศเมีย ไม่มีกลีบดอกและจานฐานดอก ในดอกเพศผู้ไม่มีรังไข่ที่เป็นหมัน

                90






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   90                                                                  3/1/16   5:12 PM
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115