Page 105 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 105
สกุล Nageia Gaertn. เป็นกลุ่มพืชเมล็ดเปลือย คล้ายกับสกุล Podocarpus แต่ เข็ม, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย เข็มขาวป่า
มีเส้นใบจำานวนมากเรียงขนานกัน ไม่มีเส้นกลางใบ และเยื่อหุ้มเมล็ดจนมิด มี Ixora L.
5-7 ชนิด พบที่บังกลาเทศ อินเดีย จีน ไห่หนาน ไต้หวัน ญี่ปุ่น พม่า ภูมิภาค
อินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ ซางจีน วงศ์ Rubiaceae
N. motleyi (Parl.) de Laub. พบทางภาคใต้ที่ี่นราธิวาส ชื่อสกุลมาจากภาษาพื้นเมือง ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก หูใบร่วมปลายเรียวเป็นติ่งแหลม ใบเรียงตรงข้าม
ของญี่ปุ่น “Nagi” สลับตั้งฉาก ก้านใบเป็นข้อ ช่อดอกแบบช่อกระจุก ช่อเชิงหลั่น หรือช่อแยกแขนง
ออกตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ หรือขอบเรียบ ติดทน ดอกรูปดอกเข็ม ปลาย
เอกสารอ้างอิง
de Laubenfels, D.J. (1988). Coniferales. In Flora Malesiana Vol. 10: 389-395. ส่วนมากแยกเป็น 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดที่คอหลอดกลีบดอก มักยื่นพ้น
Fu, L., Yong Li and R.R. Mill. (1999). Podocarpaceae. In Flora of China Vol. ปากหลอด ก้านชูอับเรณูสั้นมาก อับเรณูติดด้านหลังใกล้โคน รังไข่ใต้วงกลีบ มี
4: 79-80. 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด พลาเซนตารอบแกนร่วม ยอดเกสรเพศเมียแยก
Phengklai, C. (1975). Podocarpaceae (Podocarpus). In Flora of Thailand. Vol. 2 แฉก รูปเส้นด้ายบานออก ยื่นพ้นปากหลอด ผลผนังชั้นในแข็ง มี 2 ไพรีน
2(3): 202.
สกุล Ixora อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Ixoroideae พบในอเมริกา แอฟริกา มาดากัสการ์
เอเชีย และหมู่เกาะแปซิฟิก มีประมาณ 300 ชนิด ในไทยมีมากกว่า 30 ชนิด
และมีหลายชนิดที่เป็นไม้ประดับ โดยเฉพาะเข็มแดง I. coccinea L. และเข็มขาว
I. findlaysoniana Wall. & G. Don ที่มีหลากสายพันธุ์ หลากสี รวมทั้งพันธุ์แคระ
ชื่อสกุลมาจากภาษาสันสกฤต “Iswari” ชื่อของพระแม่อุมาเทวี (ปารวตี) เทวี
แห่งอำานาจวาสนาและบารมี พระชายาองค์ที่สองของ พระศิวะ ที่ชาวอินเดียใช้
ดอกเข็มแดงเพื่อบูชา
เอกสารอ้างอิง
Chen, T. and C.M. Taylor. (2011). Rubiaceae (Ixora). In Flora of China Vol. 19: 177.
ขุนไม้: ใบเรียงสลับตั้งฉาก ไม่มีเส้นกลางใบ เส้นใบจ�านวนมากเรียงขนานกัน ฐานรองเมล็ดอวบน�้า บางครั้งมีเกล็ด Puff, C., K. Chayamarit and V. Chamchumroon. (2005). Rubiaceae of Thailand.
ประดับ 2 เกล็ดที่พัฒนาเป็นเนื้อหุ้มเมล็ด (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - PK) Forest Herbarium. Bangkok.
เข็ดตะขาบ
Styphelia malayana (Jack) Spreng.
วงศ์ Ericaceae
ชื่อพ้อง Leucopogon malayanus Jack
ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 5 ม. ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียน รูปใบหอก ยาว 2.5-6 ซม.
ปลายแหลมคมคล้ายหนาม โคนสอบเรียวปลายตัดชิดล�าต้น เส้นแขนงใบ
จ�านวนมาก แผ่นใบมีนวลด้านล่าง ช่อดอกแบบช่อเชิงลด มีขน แต่ละช่อมี 3-7 ดอก
ก้านดอกสั้นมาก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ยาว 3-4 มม.
ติดทน ดอกรูปกรวยสีขาวหรืออมชมพู มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2 มม.
บานออก มีขนอุยด้านใน เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดที่โคนหลอดกลีบ ยาว 1-2 มม.
ยื่นพ้นปากหลอดกลีบเล็กน้อย จานฐานดอกจัก 5 พู รังไข่มี 5 ช่อง เกลี้ยง แต่ละช่อง
มีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 มม. ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม
ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 มม. สุกสีแดง มี 5 เมล็ด
เข็ม: I. coccinea cultivar group ดอกรูปดอกเข็ม มีหลากสี ปลายส่วนมากแยกเป็น 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดที่
พบที่พม่าตอนล่าง กัมพูชา เวียดนามตอนใต้ คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และ คอหลอดกลีบดอก มักยื่นพ้นปากหลอด (ภาพ: cultivated - RP)
บอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้ที่นครศรีธรรมราช ยะลา สตูล ปัตตานี ขึ้นตาม
ชายฝั่งทะเลที่เป็นทรายและโขดหิน หรือตามที่โล่งบนยอดเขา ความสูงถึงประมาณ เข็มขาวป่า
1500 เมตร แยกเป็น var. novoguineensis Sleumer พบเฉพาะที่นิวกินี Daphne sureil W. W. Sm. & Cave
วงศ์ Thymelaeaceae
สกุล Styphelia Sm. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Epacridaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
Styphelioideae มีประมาณ 130 ชนิด ส่วนใหญ่พบในออสเตรเลีย ในไทยมี ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว 5-14 ซม.
ชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “styphelos” แข็ง ตามลักษณะใบที่ปลาย ปลายและโคนแหลม ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกที่
แหลมคมคล้ายหนาม ปลายกิ่ง ไร้ก้านช่อหรือมีก้านช่อสั้น ๆ ใบประดับรูปไข่ ยาว 0.8-1 ซม. ร่วงเร็ว
แต่ละช่อมี 5-14 ดอก ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงสีขาว หลอดกลีบยาว
เอกสารอ้างอิง 1-1.5 ซม. ปลายแยกเป็น 4 กลีบ รูปไข่ ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 5-8 มม. ด้านนอก
Larsen, K. (1987). Epacridaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 70-71. มีขนประปราย ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 8 อัน เรียง 2 วง วงล่างติดประมาณ
Sleumer, H. (1964). Epacridaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 426-428.
กึ่งกลางหลอดกลีบดอก วงบนติดบนปากหลอดกลีบดอก ไร้ก้านชูอับเรณูหรือมี
ก้านสั้นมาก อับเรณูยาว 1-2 มม. จานฐานดอกรูปถ้วย ขอบจัก รังไข่มี 1 ช่อง
ยอดเกสรรูปโล่ ผลสดมีหลายเมล็ด รูปรี ยาว 0.8-1.5 ซม. สุกสีแดง
พบที่อินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ บังกลาเทศ และพม่า ในไทยพบทางภาคเหนือ
ที่เชียงใหม่ ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง 1200-2200 เมตร
สกุล Daphne L. มีประมาณ 95 ชนิด พบในเอเชียโดยเฉพาะจีน มีหลายชนิดนิยม
ปลูกเป็นไม้ประดับ ดอกมีกลิ่นหอม ต่างจากสกุล Eriosolena และ Wikstroemia
ที่ก้านช่อไร้ก้านหรือมีก้านสั้นมากและออกตามซอกใบ ในไทยมีชนิดเดียว ส่วน
D. composita (L. f.) Gilg ปัจจุบันให้เป็นชื่อพ้องของ Eriosolena composita
เข็ดตะขาบ: ปลายใบแหลมคมคล้ายหนาม โคนสอบเรียวปลายตัดชิดล�าต้น ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ก้านดอกสั้น
ดอกรูปกรวย กลีบดอกมีขนอุยด้านใน กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: ยะลา - RP) (L. f.) Tiegh. ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “daphne” ที่ใช้เรียก Laurus nobilis L.
85
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 85 3/1/16 5:11 PM