Page 104 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 104
ขี้อ้นเครือ
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ขี้อ้น: H. angustifolia ขอบใบเรียบ เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ช่อดอกแบบช่อกระจุก กลีบดอกรูปปากเปิด ผลรูป ขี้อ้นเครือ: ช่อดอกแบบซี่ร่ม ดอกรูปแตร ผลรูปกรวยกลับ เป็นสันตื้น ๆ ตามยาว มีขนต่อมเหนียวกระจาย
ทรงกระบอกมี 5 สัน (ภาพ: กาญจนบุรี - PK) (ภาพดอก: ออบหลวง เชียงใหม่, ภาพผล: ประจวบคีรีขันธ์; - RP)
ขี้อ้าย
Terminalia nigrovenulosa Pierre
วงศ์ Combretaceae
ชื่อพ้อง Terminalia triptera Stapf
ไม้ต้นผลัดใบ สูง 5-25 ม. เปลือกแตกเป็นร่องตื้น เปลือกในสีน�้าตาลแดง ต้นอ่อน
กิ่งลดรูปคล้ายหนาม ใบรูปไข่ ยาว 6-10 ซม. ขอบใบมีต่อมหนึ่งคู่ใกล้โคน ก้านใบ
ยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง 3-6 ช่อ ช่อย่อยแบบช่อเชิงลด ยาว 3-6 ซม.
มีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกย่อยที่สองยาว 2.5-5 ซม. แต่ละช่อมี 4-5 ดอก ใบประดับรูป
ขี้อ้น: H. elongata ปลายแหลมยาว โคนมน เบี้ยวเล็กน้อย ขอบจักฟันเลื่อย ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ออกตาม เส้นด้าย ยาว 1-1.5 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ
ซอกใบ (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก - PK) ยาว 1-2 มม. ด้านในมีขน ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง
จานฐานดอกจักมนมีขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมีย ยาว 2.5-3 มม. ผลมี 3 ปีก
รูปขอบขนาน ยาว 1.5-3.3 ซม. มีเมล็ดเดียว รูปรี (ดูข้อมูลเพิ่มเติ่มที่ สมอ, สกุล)
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทย
พบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้งบนเขาหินทรายหรือหินปูน
ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร เปลือกใช้เคี้ยวกับหมาก
เอกสารอ้างอิง
Chen, J. and N.J. Turland. (2007). Combretaceae. In Flora of China Vol. 13: 311.
Nanakorn, W. (1985). The genus Terminalia (Combretaceae) in Thailand
(Terminalia triptera). Thai Forest Bulletin (Botany) 15: 87-90.
ขี้อ้น: H. lanata ช่อดอกออกหนาแน่นตอนปลายกิ่ง แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่มหนาแน่น ดอกสีม่วงอ่อน ผลรูป
ทรงกระบอกสั้น ๆ มีขนหนาแน่น (ภาพ: ดงฟ้าห่วน อุบลราชานี - RP)
ขี้อ้นเครือ
Commicarpus chinensis (L.) Heimerl
วงศ์ Nyctaginaceae
ชื่อพ้อง Valeriana chinensis L., Boerhavia chinensis (L.) Rottb.
ไม้ล้มลุก ล�าต้นเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ล�าต้นยาวได้ถึง 1 ม. ใบเรียงตรงข้าม
รูปไข่แกมสามเหลี่ยมหรือรูปหัวใจ กว้าง 2-5 ซม. ยาว 3-6 ซม. ปลายแหลม โคนตัด
หรือรูปหัวใจ ขอบเว้าเป็นคลื่น ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบซี่ร่ม ก้านช่อยาว
ขี้อ้าย: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อย่อยแบบช่อเชิงลด ผลมี 3 ปีก รูปขอบขนาน (ภาพดอก: บ้านตาก ตาก,
2-5 ซม. มี 3-8 ดอก ก้านดอกยาว 0.3-1.2 ซม. ดอกรูปแตร สีชมพู ปลายแยก ภาพผล: ลพบุรี; - RP)
เป็น 5 กลีบ หลอดกลีบสั้น กลีบรูปรีกว้าง ยาว 6-8 มม. หลอดกลีบสั้น เกสรเพศผู้
2-4 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกกว่า 1 ซม. รังไข่มีช่องเดียว ขุนไม้
มีก้านสั้น ๆ ยอดเกสรเพศเมียรูปโล่ ผลแห้งเมล็ดล่อน รูปกรวยกลับ ยาว 6-8 มม. Nageia wallichiana (C. Presl) Kuntze
เป็นสันตื้น ๆ ตามยาว มีขนต่อมเหนียวกระจาย มีเมล็ดเดียว วงศ์ Podocarpaceae
พบที่ อินเดีย ปากีสถาน ไห่หนาน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทย ชื่อพ้อง Podocarpus wallichianus C. Presl
พบทุกภาค ขึ้นตามชายป่าหรือชายทะเล ความสูงจนถึงประมาณ 500 เมตร ใบขยี้ ไม้ต้น สูง 30-50 ม. แยกเพศต่างต้น เปลือกเรียบลอกเป็นแผ่นขนาดใหญ่
แก้คันจากโรคหิด รากใช้ท�าให้อาเจียนเพื่อลดพิษจากงูกัด ใบเรียงสลับตั้งฉาก รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 10-18 ซม. แผ่นใบหนา ปลายแหลม
โคนรูปลิ่ม เส้นใบจ�านวนมากเรียงขนานกัน ไม่มีเส้นกลางใบ ก้านใบยาว 0.5-1 ซม.
สกุล Commicarpus Standl. เดิมเป็นชื่อพ้องของสกุล Boerhavia ที่ดอกรูประฆัง โคนเพศผู้คล้ายช่อเชิงลด ออกเป็นกลุ่ม 1-7 โคน ตามซอกใบ ยาวประมาณ 1 ซม.
ก้านเกสรเพศผู้และเพศเมียยื่นพ้นหลอดกลีบดอกเพียงเล็กน้อย มีประมาณ ใบสร้างไมโครสปอร์รูปหอก ยาว 2-3 มม. โคนเพศเมียส่วนมากออกเดี่ยว ๆ ที่
25 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน โดยเฉพาะในแอฟริกา ในไทย ปลายกิ่ง ก้านยาวได้ถึง 2 ซม. เกล็ดประดับส่วนมากฝ่อ มี 1-2 เกล็ดที่พัฒนาเป็น
มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “commis” หรือภาษากรีก “kommi” เนื้อหุ้มเมล็ดจนมิด (epimatium) ฐานรองเมล็ดอวบน�้า มีสีด�าเมื่อสุก เยื่อหุ้มเมล็ด
เหนียว และ “karpos” ผล ตามลักษณะผลที่มีต่อมเหนียว สีม่วงหรืออมสีแดง เมล็ดกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-1.8 ซม.
เอกสารอ้างอิง พบที่บังกลาเทศ อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์
Larsen, K. (1991). Nyctaginaceae (Boerhavia chinensis). In Flora of Thailand และนิวกินี ในไทยพบกระจายห่างๆ แทบทุกภาค ขึ้นตามที่ลาดชันหรือสันเขา ใน
Vol. 5(3): 371-374.
Lu, D., L. and M.G. Gilbert. (2003). Nyctaginaceae. In Flora of China Vol. 5: ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร น�้าคั้นจากใบใช้บรรเทา
430-434. โรคปวดตามข้อ
84
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 84 3/1/16 5:11 PM