Page 103 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 103
ขี้อ้น, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย ขี้อ้น
Helicteres L.
วงศ์ Malvaceae
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น มีขนรูปดาวกระจาย หูใบร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน ดอกออกเดี่ยว ๆ
หรือแบบช่อกระจุก ส่วนมากออกตามซอกใบ ริ้วประดับขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง
เชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ขนาดเล็กไม่เท่ากัน กลีบดอกรูปปากเปิด
กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ มีก้านกลีบสั้น ๆ มักมีรยางค์เป็นติ่ง เกสรเพศผู้
10 อัน ติดบนก้านชูเกสรร่วม ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
5 อัน รังไข่มี 5 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียจักตื้น ๆ หรือแยกเป็น
5 แฉก ผลแห้งแตก บางครั้งบิดเป็นเกลียว เมล็ดมีตุ่มกระจาย ไม่มีปีก
สกุล Helicteres เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
Helicteroideae ร่วมกับอีก 8-10 สกุล เช่น Durio และ Reevesia เป็นต้น มีประมาณ
ขี้เหล็กยะวา: ดอกสีเหลืองซีด มีก้านกลีบ ก้านชูอับเรณูหนา อับเรณูโค้ง (ภาพซ้ายบน: cultivated - RP); ขี้เหล็กเลือด: 40 ชนิด ส่วนมากพบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 7 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
หูใบรูปติ่งหู ปลายใบเป็นติ่งแหลม ช่อดอกแบบช่อกระจะ ฝักรูปแถบ ปลายมีจะงอย (ภาพซ้ายล่างและภาพขวา: cultivated - RP)
“heliktos” บิดเวียน ตามลักษณะผลบางชนิด เปลือกเป็นเส้นใยเหนียว
ขี้อ้น
Helicteres angustifolia L.
ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. มีขนรูปดาวหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก
ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก และผล ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 3-15 ซม. ปลาย
แหลมยาว โคนมนหรือกลม ขอบเรียบ เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบย่อย
แบบขั้นบันไดและแบบร่างแห ก้านใบยาว 0.3-1.5 ซม. ช่อดอกกระจุกสั้น ๆ กลีบเลี้ยง
ยาวประมาณ 6 มม. ดอกสีม่วงอมชมพูอ่อน ๆ กลีบรูปใบพาย ยาว 0.5-1 ซม.
เกสรเพศผู้เกลี้ยง ยอดเกสรเพศเมียจักตื้น ๆ ผลรูปทรงกระบอก ยาว 1-3 ซม. มี 5 สัน
ขี้เหล็กอเมริกัน: ปลายใบแหลมมีติ่ง โคนกลม ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง กลีบดอกกลีบล่างรูปเคียวขนาดใหญ่กว่า
กลีบอื่น เกสรเพศผู้ 7 อัน (ภาพ: cultivated; ภาพซ้าย - RP, ภาพขวา: - PK) พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และ
ขี้เหล็กฤาษี ออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง หรือชายป่า
ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
Phyllanthus mirabilis Müll. Arg.
วงศ์ Phyllanthaceae ขี้อ้น
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. โคนอวบหนา ใบเรียงเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง Helicteres elongata Wall. ex Bojer
ใบรูปขอบขนาน ยาว 6.5-13 ซม. โคนเบี้ยว แผ่นใบมีขนสั้นนุ่ม ยอดที่มีดอก ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ใบรูปไข่หรือรูปขอบขนาน ยาว 5-15 ซม. ปลายแหลมยาว
(orthotropic shoot) คล้ายช่อดอกขนาดใหญ่ ใบประดับรูปรีหรือรูปขอบขนาน โคนมน เบี้ยวเล็กน้อย ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบด้านล่างมีขนประปราย เส้นโคนใบ
ยาวได้ถึง 2 ซม. ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ไม่มีกลีบดอก กลีบเลี้ยงมีปุ่มเล็ก ๆ ข้างละ 1-2 เส้น เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอก
จานฐานดอกเป็นต่อมรูปกระบอง ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยง ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ หรือที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 5 มม. ด้านนอกมี
5 กลีบ รูปรี ยาวประมาณ 3 มม. ปลายแหลมยาว จานฐานดอกมี 5 ต่อม เกสรเพศผู้ ขนหนาแน่น ดอกสีม่วงอมน�้าเงินอ่อน กลีบรูปใบพายหรือรูปลิ่ม ปลายตัด ยาว
6 อัน เชื่อมติดกันที่โคน แกนอับเรณูปลายมีรยางค์ ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ 0.8-1 ซม. เกสรเพศผู้เกลี้ยง ยอดเกสรเพศเมียจักตื้น ผลรูปทรงกระบอก ยาว
ก้านดอกยาว 2-3 มม. กลีบเลี้ยง 6 กลีบ ยาว 4-5.5 มม. ติดทน จานฐานดอกมี 6 ต่อม 2-3 ซม. มี 5 สัน มีขนยาวหนาแน่น
ยอดเกสรเพศเมีย 6 อัน ยาวประมาณ 1 มม. ผลรูปรีกว้าง จัก 3 พู ยาวได้ถึง 1 ซม.
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักหวานดง, สกุล) พบที่อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า และเวียดนาม ในไทยพบแทบทุกภาค
ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ
พบที่ลาว ในไทยพบกระจายยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามเขาหินปูนที่แห้งแล้ง ความสูง 1300 เมตร
ไม่เกิน 1000 เมตร เป็นไม้ประดับกระถางคล้ายบอนไซ
เอกสารอ้างอิง ขี้อ้น
Chantaranothai, P. (2007). Euphorbiaceae (Phyllanthus). In Flora of Thailand Helicteres lanata (Teijsm. & Binn.) Kurz
Vol. 8(2): 493.
ชื่อพ้อง Oudemansia lanata Teijsm. & Binn.
ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ใบรูปไข่ ยาว 2.5-10 ซม. โคนมน ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย
เล็กน้อย แผ่นใบด้านล่างมีขนหนาแน่น เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบย่อย
แบบขั้นบันได ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกออกสั้น ๆ หนาแน่นช่วงปลายกิ่ง
กลีบเลี้ยงยาวประมาณกึ่งหนึ่งของกลีบดอก ด้านนอกมีขนหนาแน่น ดอกสีม่วงอ่อน
ด้านในสีเข้ม กลีบรูปใบหอกและรูปใบพาย ปลายแหลมหรือมน ยาว 0.8-1 ซม.
รยางค์ติดเกือบตรงข้ามที่ก้านกลีบ ก้านชูเกสรร่วมเรียวยาว ปลายเป็นเหลี่ยม เกลี้ยง
ยอดเกสรเพศเมียจัก 5 พูตื้น ๆ ผลรูปทรงกระบอก ยาว 1-2 ซม. มีขนยาวหนาแน่น
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และสุมาตรา ในไทยแทบทุกภาค
ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ตั้งแต่ชุมพรลงไป ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ
ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูง 100-300 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 563-571.
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
ขี้เหล็กฤๅษี: โคนต้นอวบหนา ยอดที่มีดอกคล้ายเป็นช่อดอกขนาดใหญ่ ผลจัก 3 พู (ภาพ: พระบาท สระบุรี - RP) Vol. 12: 318-319.
83
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 83 3/1/16 5:10 PM